Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39602
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กุลวดี อภิชาติบุตร-
dc.contributor.advisorอาจารย์ ดร.บุญพิชชา จิตต์ภักดี-
dc.contributor.authorอรทัย หล้านามวงค์en_US
dc.date.accessioned2016-09-28T09:20:50Z-
dc.date.available2016-09-28T09:20:50Z-
dc.date.issued2015-07-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39602-
dc.description.abstractNursing handover is the transferring of patient information from one shift to another shift. The purpose of this developmental study was to improve the quality of nursing handovers in an Eye Ward at Lampang Hospital using the nine steps of the FOCUS PDCA quality improvement process: find a process to improve; organize a team that knows the process; clarify current knowledge of the process; understand the cause of process variation; select the process points of improvement; plan the improvements; apply the improvements; check the result; and act to hold gains and continue improvements (Deming as cited in McLaughlin & Kaluzny, 1999). The study population included five registered nurses. The research instruments were the interview guidelines and the nursing handover observation checklist. Data were analyzed using descriptive statistics and content analysis. The results showed that after using the FOCUS-PDCA process and the SBAR method, registered nurses could correctly and completely perform more than 90% of nursing handovers. Problems of the quality improvement process included incomplete content in nursing handovers and the discontinuation of the nursing handover process. Registered nurses satisfied with the quality improvement due to the precise procedure of the nursing handover process, the use of handover record as an evidence, the quality and continuity of patient care. The result of this study showed that the quality improvement process using the SBAR method when applied to the nursing handover process is useful for nursing service. Nurse administrators can use the FOCUS-PDCA process and the SBAR method to improve the quality of nursing handovers in other units.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาคุณภาพการรับส่งเวรทางการพยาบาลในหอผู้ป่วยจักษุ โรงพยาบาลลำปางen_US
dc.title.alternativeQuality Improvement of Nursing Handover in an Eye Ward, Lampang Hospitalen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการรับส่งเวรทางการพยาบาลเป็นการส่งต่อข้อมูลของผู้ป่วยจากเวรหนึ่งไปยังอีกเวรหนึ่ง การศึกษาเชิงพัฒนานี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาคุณภาพการรับส่งเวรทางการพยาบาลในหอผู้ป่วยจักษุโรงพยาบาลลำปาง โดยใช้กระบวนการปรับปรุงคุณภาพโฟกัส พีดีซีเอ (FOCUS-PDCA) 9 ขั้นตอนได้แก่ค้นหากระบวนการที่ต้องการปรับปรุง สร้างทีมงานที่รู้เกี่ยวกับกระบวนการ ทำความเข้าใจกระบวนการที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน ทำความเข้าใจในสาเหตุของความแปรปรวนของกระบวนการ เลือกกระบวนการที่ต้องการปรับปรุง วางแผนการปรับปรุง ปฏิบัติการปรับปรุง ตรวจสอบผลการปฏิบัติ และยืนยันการดำเนินการและการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง (Deming as cited in McLaughlin & Kaluzny, 1999) ประชากรในการศึกษาครั้งนี้คือ พยาบาลวิชาชีพจำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม และแบบสังเกตการปฏิบัติการรับส่งเวรทางการพยาบาล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า ภายหลังการใช้กระบวนการโฟกัสพีดีซีเอ และรูปแบบเอสบาร์ (SBAR) พยาบาลวิชาชีพสามารถปฏิบัติการรับส่งเวรได้อย่างถูกต้องครบถ้วนได้มากกว่าร้อยละ 90.00 ปัญหาในกระบวนการพัฒนาคุณภาพคือ เนื้อหาของการส่งเวรทางการพยาบาลไม่ครบถ้วนและกระบวนการรับส่งเวรทางการพยาบาลไม่ต่อเนื่อง พยาบาลวิชาชีพมีความพึงพอใจต่อการพัฒนาคุณภาพเนื่องจาก มีกระบวนการรับส่งเวรที่แน่นอน มีหลักฐานการรับส่งเวรและการดูแลผู้ป่วยมีคุณภาพและต่อเนื่อง การศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า การประยุกต์กระบวนการพัฒนาคุณภาพร่วมกับรูปแบบ SBAR ในกระบวนการรับส่งเวรทางการพยาบาลมีประโยชน์ต่อการบริการพยาบาล ผู้บริหารทางการพยาบาลสามารถนำกระบวนการโฟกัส พีดีซีเอ และรูปแบบ SBAR ไปพัฒนาคุณภาพการรับส่งเวรในหน่วยงานอื่นต่อไปen_US
Appears in Collections:NURSE: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)171.36 kBMicrosoft Word XMLView/Open    Request a copy
ABSTRACT.pdfAbstract161.92 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS3.38 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.