Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39779
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสมอแข สมหอม-
dc.contributor.authorกิตติศักดิ์ สุรินโตen_US
dc.date.accessioned2016-12-12T12:35:12Z-
dc.date.available2016-12-12T12:35:12Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39779-
dc.description.abstractThe independent study in this topic is Evaluation of Personal Record Registration Information System Utilization, Chiangmai Rajabhat University using Technology Acceptance Model 2 (TAM2). The scope of study refers to understanding user behaviors and usage levels, user satisfactions and problems in system usage of 3 user groups. The first one is a group of 3 executives, the method used for collecting data from this group is interviewing. The second group has 26 personnel related to human resources management in various departments and the third group has 166 academic personnel and 135 support personnel, collecting data by sampling and questionnaires. There are 4 factors in evaluating system utilization using TAM2. 1) External variables, 44.6% of personnel in academic section whose experiences in using the system less than 1 year, has more interested and perceived usefulness than the other groups. The group of personnel in various departments has less interested and perceived of usefulness due to their positions and duties. 2) Perceived usefulness, this factor is the most accepted by personnel in various departments at 4.24%. This group has more perceived usefulness than the other groups due to using system regularly. 3) Perceived ease of use, the most accepted by personnel in various departments at 4.36% due to their using system regularly, same as the result from previous factor. 4) Attitude toward using, observation in overall user satisfactions, 61.5% of personnel in various departments has satisfaction at a high level due to their duties and using system regularly. The group of personnel in academic section and supporters uses the system only in some parts lead to low satisfaction.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectระบบสารสนเทศen_US
dc.subjectทะเบียนประวัติen_US
dc.subjectมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่en_US
dc.titleการประเมินการใช้งานระบบสารสนเทศทะเบียนประวัติบุคลากร มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeEvaluation of personal record registration information system utilization, Chiangmai Rajabhat Universityen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc658.4038-
thailis.controlvocab.thashมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ-
thailis.controlvocab.thashระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ -- การประเมิน-
thailis.manuscript.callnumberว/ภน 658.4038 ก344ก-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้ เป็นการประเมินการใช้งานระบบสารสนเทศทะเบียนประวัติบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ โดยใช้แนวทางของทฤษฎีการยอมรับการใช้เทคโนโลยี (TAM2) ได้แก่ การศึกษาพฤติกรรมและระดับการใช้งาน ความพึงพอใจต่อการใช้งาน และปัญหาในการใช้งานระบบ ของผู้ใช้งาน 3 กลุ่ม โดยใช้วิธีสัมภาษณ์สำหรับกลุ่มผู้บริหาร จำนวน 3 คน กลุ่มเจ้าหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับบุคลากรของแต่ละหน่วยงาน จำนวน 26 คน และบุคลากรทั่วไป ได้แก่ บุคลากรสายวิชาการ จำนวน 166 คน และสายสนับสนุน จำนวน 135 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง แจกแบบสอบถามด้วยตนเอง และนำเสนอในรูปแบบตารางประกอบคำบรรยาย จากการประเมินด้านแนวคิดทฤษฎีการยอมรับการใช้เทคโนโลยี TAM2 ประกอบด้วยปัจจัยหลัก 4 ประการ ได้แก่ 1) ด้านตัวแปรภายนอก พบว่าบุคลากรสายวิชาการที่มีประสบการณ์การใช้งานน้อยกว่า 1 ปี ร้อยละ 44.6 มีความสนใจและรับรู้ถึงประโยชน์ก่อนการใช้งาน มากกว่ากลุ่มอื่นๆ โดยเจ้าหน้าที่แต่ละหน่วยงาน ไม่ค่อยมีอิทธิพลต่อการรับรู้ถึงประโยชน์ก่อนการใช้งาน เนื่องจากมองว่าเป็นหน้าของตนเองที่ที่ต้องรับผิดชอบ 2) ด้านการรับรู้ประโยชน์ที่ได้รับจากเทคโนโลยีสารสนเทศ ปัจจัยด้านนี้ได้รับการยอมรับจากกลุ่มเจ้าหน้าที่แต่ละหน่วยงานในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.24 เนื่องจากมีการเข้าใช้งานอย่างสม่ำเสมอ ทำให้ผู้ใช้งานกลุ่มนี้ได้รับรู้ถึงประโยชน์ที่ได้รับมากว่ากลุ่มอื่น 3) ด้านการรับรู้ว่าเป็นระบบที่ง่ายต่อการใช้งาน ได้รับการยอมรับจากกลุ่มเจ้าหน้าที่แต่ละหน่วยงานในระดับมาก ค่าเฉลี่ย 4.36 เนื่องจากมีการเข้าใช้งานอย่างสม่ำเสมอเช่นเดียวกันปัจจัยที่ผ่านมา 4) ทัศนคติที่มีต่อการใช้งาน มองถึงความพึงพอใจต่อระบบในภาพรวม พบว่าเจ้าหน้าที่แต่ละหน่วยงาน ร้อยละ 61.5 มีภาระหน้าที่ต้องเข้าไปดูแลข้อมูลในระบบอยู่เป็นประจำ ส่งผลให้มีความพึงใจในระดับมาก ซึ่งต่างจากกลุ่มบุคลาการสายวิชาการ และสนับสนุน ที่ส่วนใหญ่เข้ามาใช้งานเฉพาะส่วนที่เป็นประโยชน์ต่อตัวเองเท่านั้น ความพึงพอใจในภาพรวมจึงออกมาในระดับที่ต่ำกว่าen_US
Appears in Collections:GRAD-Sciences and Technology: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT217.51 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdfAPPENDIX361.53 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1695.35 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2371.72 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 3.pdf CHAPTER 3303.66 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 4780.22 kBAdobe PDFView/Open
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5281.35 kBAdobe PDFView/Open
CONTENT.pdf CONTENT279.96 kBAdobe PDFView/Open
COVER.pdfCOVER570.58 kBAdobe PDFView/Open
REFERENCE.pdf REFERENCE181.59 kBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.