Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39679
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเพชรสุนีย์ ทั้งเจริญกุล-
dc.contributor.advisorบุญพิชชา จิตต์ภักดี-
dc.contributor.authorวิทวดี สุวรรณศรวลen_US
dc.date.accessioned2016-12-07T05:13:45Z-
dc.date.available2016-12-07T05:13:45Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39679-
dc.description.abstractNursing document serves as important evidence that shows nursing care provided to patients; it can also be used as a form of communication among nursing personnel. Effective nursing documentation is therefore crucial for nursing practice. The purpose of this developmental study was to improve the quality of nursing documentation in the Female Orthopedics Ward at Nakornping Hospital. Study methodology was guided by the FOCUS PDCA improvement process (Deming,1993 as sited in McLaughlin & Kaluzny, 1999) which consists of nine steps: find a process to improve; organize a team that knows the process; clarify current knowledge of the process; understand causes of process variation; select the processes improvement; plan the improvement; do the improvement; check the result, data collection and analysis; and act to hold the gain and continue improvement. The population in this study was 11 registered nurses. The research instruments included an interview guide and an assessment form for nursing documentation which were developed by the researcher. Data were analyzed using descriptive statistics Results revealed that FOCUS PDCA methodology were able to improve nursing documentation in this study. The process helped nurses identify the causes of uncompleted nursing documents and select appropriate actions to solve identified problems. The researcher developed practice guidelines for nursing documentation and trained nurses for practice compliance with the guidelines. One month after implementation, a chart audit was done by the researcher and the quality of nursing documentation increased from 41.64% to 83.70%. The results of the study show that FOCUS PDCA methodology helps to improve the quality of nursing documentation. Administrators can apply it to improve quality of services in their departments and other departments in the organization.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการพยาบาลen_US
dc.subjectหอผู้ป่วยen_US
dc.titleการพัฒนาคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลในหอผู้ป่วยกระดูกหญิง โรงพยาบาลนครพิงค์ จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeQuality improvement of nursing documentation in a female orthopedics ward, Nakornping Hospital, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.nlmcW 4-
thailis.controlvocab.meshDocumentation-
thailis.controlvocab.meshNakornping hospital-
thailis.manuscript.callnumberW 4 ว234ก 2557-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractบันทึกทางการพยาบาลเป็นหลักฐานสำคัญในการสะท้อนการพยาบาลที่ผู้ป่วยได้รับ และสามารถใช้ในการสื่อสารระหว่างบุคลากรพยาบาล ดังนั้นการบันทึกทางการพยาบาลที่มีคุณภาพจึงมีความสำคัญต่อการปฏิบัติการพยาบาล การศึกษาเชิงพัฒนานี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาคุณภาพ การบันทึกทางการพยาบาลในหอผู้ป่วยกระดูกหญิง โรงพยาบาลนครพิงค์ จังหวัดเชียงใหม่ วิธีดำเนินการศึกษาอาศัยกระบวนการปรับปรุงคุณภาพโฟกัสพีดีซีเอ ซึ่งประกอบด้วย 9 ขั้นตอนได้แก่ การค้นหากระบวนการในการปรับปรุงคุณภาพ การสร้างทีมงานให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการ การทำความเข้าใจกระบวนการที่จะปรับปรุง การทำความเข้าใจถึงสาเหตุของ ความแปรปรวนของกระบวนการ การเลือกวิธีการปรับปรุงกระบวนการ การวางแผนในการปรับปรุง การนำไปปฏิบัติ การตรวจสอบการปฏิบัติ และการยืนยันการดำเนินการและการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ประชากรในการศึกษาครั้งนี้คือ พยาบาลวิชาชีพจำนวน 11 คน เครื่องมือที่ใช้ ในการดำเนินการศึกษาได้แก่ แนวคำถามในการประชุมกลุ่ม และแบบประเมินคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลในหอผู้ป่วยกระดูกหญิงที่ผู้ศึกษาสร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยาย ผลการศึกษาพบว่า กระบวนการโฟกัสพีดีซีเอช่วยในการปรับปรุงการบันทึกทางการพยาบาล ในการศึกษานี้ได้ โดยช่วยให้พยาบาลสามารถระบุสาเหตุของการบันทึกทางการพยาบาลที่ไม่สมบูรณ์ และเลือกแนวทางที่เหมาะสมในการแก้ไขปัญหา ผู้วิจัยได้มีการพัฒนาแนวปฏิบัติในการเขียน บันทึกทางการพยาบาลและอบรมให้พยาบาลปฏิบัติตามแนวปฏิบัติ หลังจากดำเนินการ 1 เดือน ผู้วิจัยได้ตรวจสอบบันทึกทางการพยาบาล และพบว่าคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาลเพิ่มขึ้นจากเดิมร้อยละ 41.64 เป็นร้อยละ 83.70 ผลการศึกษานี้แสดงว่า กระบวนการโฟกัสพีดีซีเอสามารถนำไปใช้ได้จริงในการพัฒนาคุณภาพการบันทึกทางการพยาบาล ซึ่งผู้บริหารองค์การสามารถนำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพ การบริการในหน่วยงานตนเองหรือหน่วยงานอื่น ๆ ในองค์การได้en_US
Appears in Collections:NURSE: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.pdfABSTRACT258.53 kBAdobe PDFView/Open
APPENDIX.pdfAPPENDIX922.77 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 1.pdfCHAPTER 1356.6 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 2.pdfCHAPTER 2799.12 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 3.pdfCHAPTER 3469.79 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 4.pdfCHAPTER 41.09 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CHAPTER 5.pdfCHAPTER 5393.95 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
CONTENT.pdfCONTENT165.28 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
COVER.pdfCOVER604.33 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy
REFERENCE.pdfREFERENCE385.33 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.