Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39488
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์อรพิณ สันติธีรากุล-
dc.contributor.authorวรวุฒิ อริยะสุนทรen_US
dc.date.accessioned2016-08-15T05:14:41Z-
dc.date.available2016-08-15T05:14:41Z-
dc.date.issued2558-08-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39488-
dc.description.abstractThe objective of this independent study was to study motivation factors that affected performance of operational employees at V. Powdertech Company Limited. The data was collected from 138 operational employees using questionnaire. The analysis was based on Two-Factor Theory by Hertzberg and the data was analysed using descriptive statistics namely frequency, percentage and mean. The results of the study showed that most questionnaire respondents were male, 30-39 years old, with the highest level of education being high school or vocational level. Most were married with 1-5 years of working experience. Most were monthly employees with income of 10,001-15,000 baht. Their average over-time income was 4,001-6,000 baht per month. The respondents ranked overall motivation factors at the high level. They ranked motivation factors at the medium level in the following order: success, responsibility, working, recognition, type of work, progress, and promotion. The respondents ranked hygiene factors at the high level in the following order: work stability, personal life, relationship with co-workers, organisation’s policy and administration, work situation, relationship with supervisor, supervision, control, income, and position. For employees’ satisfaction, it was found that the respondents were satisfied with overall motivation factors at the high level. They were satisfied with motivation factors at the medium level in the following order: success, type of work, responsibility, recognition, and promotion. They were satisfied with hygiene factors at the high level in the following order: organisation’s policy and administration, personal life, relationship with co-workers, work situation, income, relationship with supervisor, supervision, control, work stability and position.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectบริษัท วี.เพาเอร์เทค จำกัดen_US
dc.subjectความพอใจในการทำงานen_US
dc.titleปัจจัยจูงใจที่มีผลต่อการทำงานของพนักงานระดับปฏิบัติการ บริษัท วี.เพาเดอร์เทค จำกัดen_US
dc.title.alternativeMotivation factors affecting performance of operational level employees in V.Powdertech Company Limiteden_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc658.31422-
thailis.controlvocab.thashบริษัท วี.เพาเอร์เทค จำกัด-
thailis.controlvocab.thashความพอใจในการทำงาน-
thailis.controlvocab.thashการจูงใจในการทำงาน-
thailis.manuscript.callnumberว 658.31422 ว177ป-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยจูงใจที่มีผลต่อการทำงานของพนักงานระดับปฏิบัติการในบริษัท วี.เพาเดอร์เทคจำกัด โดยวิธีการเก็บตัวอย่างจากพนักงานระดับปฏิบัติการบริษัท วี.เพาเดอร์เทค จำกัด จำนวนทั้งหมด 138 ราย ใช้เครื่องมือแบบสอบถามโดยใช้ทฤษฏี 2 ปัจจัยของเฮอร์สเบริก และนำมาวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ค่าสถิติที่ใช้ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ และค่าเฉลี่ย ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุ 30 – 39 ปี มีระดับการศึกษาขึ้นสูงสุด คือ มัธยมศึกษาหรือปวช มีสถานภาพสมรส มีอายุงาน 1 – 5 ปี เป็นพนักงานรายเดือน มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน10,001 – 15,000 บาท และค่าล่วงเวลาเฉลี่ยต่อเดือน 4,001 – 6,000 บาท ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญต่อปัจจัยจูงใจในการทำงานโดยรวม อยู่ในระดับมาก โดยให้ความสำคัญต่อกลุ่มปัจจัยจูงใจ (Motivation Factor) ในระดับปานกลาง โดยเรียงลำดับดังนี้ ด้านความสำเร็จของงาน ด้านความรับผิดชอบในการทำงาน ด้านการได้รับการยอมรับนับถือยกย่องและชมเชย ด้านลักษณะงานที่ทำ ด้านความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน และด้านโอกาสในการเจริญเติบโตในหน้าที่การงาน ตามลำดับ ปัจจัยอนามัย (Hygiene Factor) พนักงานให้ระดับความสำคัญในระดับมาก โดยเรียงลำดับดังนี้ ด้านความมั่นคงในหน้าที่การงาน ด้านชีวิตส่วนตัว ด้านความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน ด้านนโยบายและการบริหารของบริษัท ด้านสภาพการทำงาน ด้านความสัมพันธ์กับหัวหน้างาน ด้านการบังคับบัญชา การควบคุมดูแล ด้านค่าตอบแทน และด้านตำแหน่งงาน ตามลำดับ ความพึงพอใจต่อปัจจัยจูงใจในการทำงาน พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจต่อปัจจัยจูงใจในการทำงานโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีความพึงพอใจต่อปัจจัยจูงใจในกลุ่มปัจจัยจูงใจ (Motivation Factor) ในระดับปานกลาง โดยเรียงลำดับดังนี้ ปัจจัยด้านความสำเร็จในการทำงาน ปัจจัยด้านลักษณะงานที่ทำ ปัจจัยด้านความรับผิดชอบในหน้าที่การงาน ปัจจัยด้านการได้รับการยอมรับนับถือ ยกย่องและชมเชย ปัจจัยด้านความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน และด้านโอกาสในการเจริญเติบโตในหน้าที่การงาน และมีความพึงพอใจต่อกลุ่มปัจจัยอนามัย (Hygiene Factor) ในระดับมาก โดยเรียงลำดับดังนี้ ปัจจัยด้านนโยบายและการบริหารของบริษัท ปัจจัยด้านชีวิตส่วนตัว ปัจจัยด้านความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน ปัจจัยด้านสภาพการทำงาน ปัจจัยด้านค่าตอบแทน ปัจจัยด้านความสัมพันธ์กับหัวหน้างาน ปัจจัยด้านการบังคับบัญชา การควบคุมดูแล ปัจจัยด้านความมั่นคงในหน้าที่การงานและปัจจัยด้านตำแหน่งงานen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)175.12 kBMicrosoft Word XMLView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract181.38 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS3.68 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.