Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/39485
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรองศาสตราจารย์ ดร.นิตยา เจรียงประเสริฐ-
dc.contributor.authorนภัสสร คุ้มถนอมen_US
dc.date.accessioned2016-08-09T09:47:43Z-
dc.date.available2016-08-09T09:47:43Z-
dc.date.issued2558-08-
dc.identifier.urihttp://repository.cmu.ac.th/handle/6653943832/39485-
dc.description.abstractThis study aimed to investigate Thai tourist needs towards ecotourism in Suan Phueng district, Ratchaburi province. Data collection was done by the distribution of questionnaires to 384 Thai tourists traveling to Suan Peung district Ratchaburi province, according to the convenient sampling method. Data obtained were, then, analyzed by the descriptive statistics, consisting of frequency, percentage, and mean. According to the study on general background, most respondents were female in the age of 21-30 years old, single, graduated in bachelor’s degrees, worked as company employee, earned monthly income at the amount of 10,001-20,000 Baht in average, and resided in the central region. The studied results on behavior of Thai tourists towards ecotourism in Suan Peung district, Ratchaburi province indicated that their motivation or reason of travelling was to spend leisure time with friends/family. In each time, they spent 3,001-4,500 Baht for travelling expenses. The most preferable style of travel was to travel with family/relatives. They preferred to arrange their travel in November – February during weekend. They travelled by personal car for 2 days in duration. The studied results on the needed ecotourism style in Suan Peung district, Ratchaburi province presented that the top three ecotourism activities that they needed at the highest level were tent camping trip, boat/rafting trip, and trekking trip, respectively. The results of the study on the marketing mix of Thai tourist towards ecotourism in Suan Peung district, Ratchaburi province were showed as follows. In product factor, the highest need of the respondents was the maintenance of ecotourism area. In price factor, the highest need of the respondents was the discount under a certain condition such as the discount for those who passed information of ecotourism event to others. In place factor, the highest need of the respondents was the various accommodation options. In promotion factor, the highest need of the respondents was the promotion of ecotourism via online media such as Social Media.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการท่องเที่ยงเชิงนิเวศen_US
dc.subjectการท่องเที่ยวen_US
dc.subjectนักท่องเที่ยวen_US
dc.subjectราชบุรีen_US
dc.titleความต้องการของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีต่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในอำเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรีen_US
dc.title.alternativeThai tourist needs towards ecotourism in Suan phueng district, Ratchaburi provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.classification.ddc658.8-
thailis.controlvocab.thashการท่องเที่ยงเชิงนิเวศ-
thailis.controlvocab.thashการท่องเที่ยว -- การตลาด-
thailis.controlvocab.thashการท่องเที่ยว -- ราชบุรี-
thailis.controlvocab.thashนักท่องเที่ยว -- ราชบุรี-
thailis.manuscript.callnumberว 658.8 ว1611ค-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงความต้องการของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีต่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในอำเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามจากนักท่องเที่ยว่ชาวไทยที่มาท่องเที่ยวในอำเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี จำนวน 384 คน โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างตามสะดวก และการวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา คือ ความถี่ ร้อยละ และค่าเฉลี่ย ด้านข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็น เพศหญิง มีอายุ 21 - 30 ปี มีสถานะภาพ โสด มีระดับการศึกษา คือ ปริญญาตรี มีอาชีพเป็นพนักงานบริษัท มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,001 – 20,000 บาท และมีภูมิลำเนาอยู่ภาคกลาง ด้านพฤติกรรมของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีต่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในอำเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี มีสิ่งจูงใจหรือเหตุผลในการเดินทางมาท่องเที่ยว เพื่อพักผ่อนกับเพื่อน/ครอบครัว มีจำนวนเงินในการใช้จ่ายในการท่องเที่ยวแต่ละครั้งคือ 3,001 – 4,500 บาท มีรูปแบบของการเดินทางท่องเที่ยวที่ชื่นชอบมากที่สุด คือ ท่องเที่ยวเป็นครอบครัว/ญาติ โดยเลือกมาท่องเที่ยวในช่วงเดือน พฤศจิกายน – กุมภาพันธ์ ช่วงระยะเวลาที่ชอบมาท่องเที่ยว คือ ช่วงวันหยุดสุดสัปดาห์ เดินทางมาท่องเที่ยว โดยรถส่วนตัว และมีระยะเวลาของการมาท่องเที่ยว คือ 2 วัน ด้านความต้องการตามรูปแบบการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในอำเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามเลือกรูปแบบกิจกรรมเชิงนิเวศตามความต้องการ 3 อันดับแรกที่เป็นเปอร์เซ็นต์สูงที่สุด ได้แก่ อันดับที่ 1 คือ การกางเต้นท์นอนพักแรม รองลงมาได้แก่ การนั่งเรือ/ แพชมภูมิประเทศ และ การเดินเส้นทางธรรมชาติ ตามลำดับ ด้านความต้องการตามส่วนประสมทางการตลาดของนักท่องเที่ยวที่มีต่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในอำเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรีของผู้ตอบแบบสอบถามพบว่า ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์มีความต้องการ เรื่อง การดูแลรักษาสถานที่ท่องเที่ยวเชิงนิเวศให้สมบูรณ์เป็นลำดับแรก ปัจจัยด้านราคามีความต้องการเรื่อง การมีส่วนลดจากเงื่อนไขต่างๆ เช่นหากท่านบอกต่อการเข้าร่วมกิจกรรมเพื่อการท่องเที่ยวเชิงนิเวศเป็นลำดับแรก ปัจจัยด้านช่องทางการจัดจำหน่าย มีความต้องการเรื่อง การมีสถานที่พักให้เลือกใช้บริการหลากหลายแห่งเป็นลำดับแรก และปัจจัยด้านการส่งเสริมการตลาดเรื่อง การใช้สื่อออนไลน์เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ เช่น Social Media ต่างๆ เป็นลำดับแรกen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ABSTRACT.docxAbstract (words)177.27 kBMicrosoft Word XMLView/Open
ABSTRACT.pdfAbstract181.31 kBAdobe PDFView/Open
FULL.pdfFull IS3.28 MBAdobe PDFView/Open


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.