Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79988
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPatraporn Bhatarasakoon-
dc.contributor.advisorSombat Skulphan-
dc.contributor.advisorHunsa Sethabouppha-
dc.contributor.authorRatree Thongyuen_US
dc.date.accessioned2024-08-20T10:57:11Z-
dc.date.available2024-08-20T10:57:11Z-
dc.date.issued2024-06-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79988-
dc.description.abstractPersonal recovery is a primary goal for people with schizophrenia. Few studies have explored the factors affecting personal recovery in schizophrenia patients, and no causal studies have been conducted in Thailand. This research uses a cross-sectional approach and Structural Equation Modeling (SEM) to construct and analyze a proposed model of personal recovery. The study enrolled 315 schizophrenia patients, who participated voluntarily, from outpatient departments of specialized psychiatric hospitals across five locations in Thailand. Selection criteria included the absence of intellectual disability or other co-morbid diagnoses. Data collection involved eight tools: 1) a demographic data form, 2) a questionnaire about the process of recovery, 3) the Thai version of the Rosenberg self-esteem scale, 4) the Thai version of the hospital anxiety and depression scale, 5) the Beck cognitive insight scale, 6) the client-rated coping self-efficacy scale, 7) the multidimensional scale of perceived social support, and 8) the Thai version of the personal and social performance scale. These tools underwent validation tests, and data analysis employed descriptive statistics, Pearson correlation, and structural equation model analysis. The overall personal recovery score among the sample was moderate. Self-esteem, negative emotions, cognitive insight, coping self-efficacy, and social support were found to directly and indirectly influence personal recovery. Negative emotion acted as a mediator between primary variables and personal recovery, with self-esteem emerging as the most significant predictor. However, social functioning did not influence personal recovery. These findings provide essential insights for developing tailored nursing interventions to support personal recovery among persons with schizophrenia. Future research may explore additional variables like resilience, empowerment, and social inclusion to gain a deeper understanding of this matter.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleA Causal model of personal recovery among persons with schizophreniaen_US
dc.title.alternativeแบบจำลองเชิงสาเหตุของการคืนสู่สุขภาวะส่วนบุคคลในผู้ที่เป็นโรคจิตเภทen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashSchizophrenics-
thailis.controlvocab.thashWell-being-
thailis.controlvocab.thashQuality of life-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการคืนสู่สุขภาวะส่วนบุคคลเป็นเป้าหมายสำคัญสำหรับผู้ป่วยโรคจิตเภท แต่การศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการคืนสู่สุขภาวะส่วนบุคคลดังกล่าวในประเทศไทยยังมีจำกัด งานวิจัยนี้จึงมุ่งศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการคืนสู่สุขภาวะส่วนบุคคลในผู้ป่วยโรคจิตเภท โดยใช้วิธีการศึกษาภาคตัดขวางและการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วย ผู้ที่เป็นโรคจิตเภทที่สมัครใจ มีอาการทางจิตสงบ ไม่มีภาวะพร่องทางสติปัญญา และไม่ได้รับการวินิจฉัยโรคร่วมอื่นๆ จำนวน 315 ราย จากแผนกผู้ป่วยนอกของโรงพยาบาลเฉพาะทางจิตเวช สังกัดกรมสุขภาพจิต 5 แห่งในประเทศไทย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 8 เครื่องมือ ได้แก่ 1) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบสอบถามเกี่ยวกับกระบวนการคืนสู่สุขภาวะ 3) แบบสอบถามเรื่องความรู้สึกต่อตนเอง 4) แบบสอบถาม Hospital Anxiety and Depression Scale ฉบับภาษาไทย 5) แบบประเมินการหยั่งรู้ของเบ็ค 6) แบบประเมินการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการเผชิญปัญหา 7) แบบสอบถามความรู้สึกหลากหลายมิติเกี่ยวกับความช่วยเหลือทางสังคม และ 8) แบบประเมินความสามารถในการทำหน้าที่ส่วนบุคคลและทางสังคม การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง ผลการศึกษาพบว่า ระดับการคืนสู่สุขภาวะส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่างอยู่ในระดับปานกลาง ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง อารมณ์ด้านลบ การมีความเข้าใจเชิงปัญญา การรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการเผชิญปัญหา และการสนับสนุนทางสังคม ถูกพบว่ามีอิทธิพลโดยตรงและโดยอ้อมต่อการคืนสู่สุขภาวะส่วนบุคคล อารมณ์ด้านลบทำหน้าที่เป็นตัวกลางระหว่างตัวแปรหลักและการคืนสู่สุขภาวะส่วนบุคคล โดยความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองเป็นปัจจัยทำนายที่สำคัญที่สุด อย่างไรก็ตามการทำหน้าที่ทางสังคมไม่ได้มีอิทธิพลต่อการคืนสู่สุขภาวะส่วนบุคคล ผลการวิจัยนี้ให้ข้อมูลสำคัญสำหรับการพัฒนาการพยาบาลเพื่อส่งเสริมการคืนสู่สุขภาวะส่วนบุคคลในผู้ป่วยโรคจิตเภท การวิจัยในอนาคตควรศึกษาปัจจัยเพิ่มเติม เช่น ความยืดหยุ่นทางจิตใจ การเสริมพลังอำนาจ และการมีส่วนร่วมทางสังคม เพื่อความเข้าใจที่ลึกซึ้งยิ่งขึ้นในประเด็นนี้en_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611251006 - RATREE THONGYU.pdf25.33 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.