Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79943
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุบัน พรเวียง-
dc.contributor.advisorมนต์นภัส มโนการณ์-
dc.contributor.authorขณิษฐา อินทธิราen_US
dc.date.accessioned2024-08-05T11:56:10Z-
dc.date.available2024-08-05T11:56:10Z-
dc.date.issued2024-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79943-
dc.description.abstractThis purpose of this study is: (1) to study the general situation and demand of learning resource management; (2) Formulating learning resource management criteria; (3) Investigate the Guidelines for Managing Learning Resources Aligned with the Local Area Context of Phrao Burapha School, Phrao District, Chiang Mai Province. is the staff of Prague office of district 2 primary school, including a manager of Prague office, a learning work-oriented person, a learning process developer, an education evaluator, a teacher with experience in education management and a teacher with experience in teaching resource management. There are 5 selected Prague office of district 2 primary school, and the respondents are 0. 887. Statistical data used to analyze data include frequency, percentage, average, standard deviation and content analysis. The research results 1) Learning resource management include: 1) establishing understanding 2) establishing a board of directors 3) clarifying meetings 4) Public relations 5) Supervision, supervision, supervision 6) Measurement and evaluation 7) Overall dissemination is moderate, with a high demand for learning resource management. 2) Learning Resource Management Guide can be divided into four elements: 1) Clarification Meeting 2) Public Relations. 3) 31 ways of supervision, supervision, and 4) dissemination. 3) The accuracy, appropriateness, feasibility, and usefulness of learning resource management methods are checked at the highest level.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleแนวทางการบริหารแหล่งเรียนรู้ที่สอดคล้องกับบริบทเชิงพื้นที่ของโรงเรียนพร้าวบูรพา อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeGuidelines for managing learning resources aligned with the local area context of Phrao Burapha School, Phrao District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashโรงเรียนพร้าวบูรพา-
thailis.controlvocab.thashการบริหารการศึกษา-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษา ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพทั่วไป ความต้องการเกี่ยวกับการบริหารแหล่งเรียนรู้ 2) จัดทำแนวทางการบริหารแหล่งเรียนรู้ และ3) ตรวจสอบแนวทางการบริหาร แหล่งเรียนรู้ที่สอดคล้องกับบริบทเชิงพื้นที่ของโรงเรียนพร้าวบูรพา อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ประชากรที่ใช้ในการศึกษาเป็นบุคลากรโรงเรียนพร้าวบูรพา ได้แก่ ผู้บริหารโรงเรียนพร้าวบูรพา 1 คน ศึกษานิเทศก์ด้านงานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนรู้ 1 คน ด้านการวัดประเมินผลทางการศึกษา 1 คน ครูผู้มีประสบการณ์ด้านการจัดการศึกษา 1 คน และครูผู้มีประสบการณ์ด้านจัดการเรียนการสอนแหล่งเรียนรู้ ชุมชน 1 คน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 2 รวมทั้งสิ้นจำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม โดยมีค่าความเชื่อมั่นที่ 0.887 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า 1) สภาพทั่วไปการบริหารแหล่งเรียนรู้ ฯ ทั้ง 7 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) การสร้างความเข้าใจ 2) การจัดตั้งคณะกรรมการ 3) การประชุมชี้แจง 4) การประชาสัมพันธ์ 5) การกำกับ นิเทศ ติดตาม 6) การวัดผลและประเมินผล 7) การเผยแพร่ โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และมีความต้องการบริหารแหล่งเรียนรู้อยู่ในระดับมาก 2) การจัดทำแนวทางการบริหารแหล่งเรียนรู้ฯ สามารถจัดลำดับองค์ประกอบของแนวทางได้ 4 องค์ประกอบ คือ 1) การประชุมชี้แจง 2) การประชาสัมพันธ์ 3) การกำกับ นิเทศ ติดตาม และ 4) การเผยแพร่ จัดได้ 31 แนวทาง 3) การตรวจสอบความถูกต้อง เหมาะสม เป็นไปได้ และเป็นประโยชน์ของแนวทางการบริหารแหล่งเรียนรู้ฯ ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุดen_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
650232055-นางสาวขณิษฐา อินทธิรา.pdf2.03 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.