Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79783
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธารณ์ ทองงอก-
dc.contributor.authorปรัชยา สมนาen_US
dc.date.accessioned2024-07-17T01:09:16Z-
dc.date.available2024-07-17T01:09:16Z-
dc.date.issued2567-05-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79783-
dc.description.abstractThe objectives of this 1) study were Study the academic operation status of the Prajim Pattana Quality Development Network, 2) Develop guidelines for Academic Operations of Prajim Pattana Educational Quality Development Network Cluster, 3) Verify the accuracy and appropriateness of the guidelines for the academic operation of the Prajim Pattana Quality Development Network The research procedure is divided into 3 steps (1) Studying the current state of academic operations of the Prajim Pattana Quality Development Network Under the jurisdiction of the Office of the Primary Educational Service Area 6, Chiang Mai Data was collected from 33 target groups School administrators Network supervisors Teachers responsible for academic affairs Local teachers Research instruments Questionnaire Data analysis Frequency Percentage Mean Standard deviation (2) Development of Academic Operation Guidelines for the Prajim Pattana Quality Development Network Target Group School administrators Educational supervisors 7 participants Instruments Interview form Data Analysis Method Content analysis (3) Validation of the Guidelines Method Conducting a Connoisseurship seminar 9 experts With knowledge and experience according to the specified qualifications Instrument Validation and appropriateness checklist Data Analysis Mean Standard deviation It was found that 1) Academic Operation Status Overall The academic operation status is at a moderate level When considering each aspect Ranked from highest to lowest Supervision, Monitoring, and Evaluation Network Academic Operation Planning Network Academic Operation and Network Academic Operation Improvement 2) Development of Academic Operation Guidelines The academic operation guidelines consist of 4 aspects and 64 guidelines as follows 1) Network Academic Operation Planning 4 steps 16 guidelines 2) Network Academic Operation 4 steps 16 guidelines 3) Supervision, Monitoring, and Evaluation of Network Academic Operation 4 steps 16 guidelines 4) Improvement of Network Academic Operation 4 steps 16 guidelines Each step in each aspect is implemented using the Deming Quality Cycle (PDCA). 3) Results of the Validation and Appropriateness Assessment of the Academic Operation Guidelines of the Prajim Pattana Quality Education Network Results: The academic operation guidelines of the Prajim Pattana Quality Education Network passed all criteria of the assessment.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการดำเนินงานวิชาการen_US
dc.subjectกลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพen_US
dc.subjectแนวทางการดำเนินงานวิชาการen_US
dc.titleแนวทางการดำเนินงานวิชาการของกลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจิมพัฒนา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 6en_US
dc.title.alternativeGuidelines for academic operations of Prajim Pattana educational quality development network cluster attached to Chiang Mai primary educational service area office 6en_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 6-
thailis.controlvocab.thashการพัฒนาการศึกษา -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashการศึกษา -- เชียงใหม่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาสภาพ การดำเนินงานวิชาการของกลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจิมพัฒนา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 6 2) เพื่อจัดทำแนวทางการการดำเนินงานวิชาการของกลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจิมพัฒนา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 6 และ 3) เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง และความเหมาะสมของแนวทางการดำเนินงานวิชาการของกลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจิมพัฒนา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 6 วิธีดำเนินการศึกษา 3 ขั้นตอน ได้แก่ (1) ศึกษาสภาพ การดำเนินงานวิชาการของกลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจิมพัฒนา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 6 จาก ผู้บริหารสถานศึกษา ศึกษานิเทศก์ประจำเครือข่าย ครูผู้รับผิดงานวิชาการ ครูท้องถิ่น รวมทั้งสิ้น 33 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (2) การจัดทำแนวทางการการดำเนินงานวิชาการของกลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจิมพัฒนา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 6 จากผู้บริหารสถานศึกษา ศึกษานิเทศก์ จำนวน 7 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหานำมามาสังเคราะห์และเขียนสรุปเป็นแนวทางการดำเนินงานวิชาการของกลุ่มเครือข่ายฯ (3) การตรวจสอบความถูกต้องและความเหมาะสมของแนวทางฯ โดยการสัมมนาอิงผู้เชี่ยวชาญ (Connoisseurship) จากผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้และประสบการณ์ตามคุณสมบัติที่กำหนด จำนวน 9 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา เป็นแบบตรวจสอบความถูกต้องและความเหมาะสม วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษา พบว่า 1) สภาพการดำเนินงานวิชาการ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านการนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผล รองลงมา ด้านการวางแผนการดำเนินงานวิชาการของกลุ่มเครือข่าย ตามด้วย ด้านการดำเนินงานวิชาการของกลุ่มเครือข่าย และด้านการปรับปรุงแก้ไขของการดำเนินงานวิชาการของกลุ่มเครือข่าย ตามลำดับ 2) การจัดทำแนวทางการดำเนินงานวิชาการ ประกอบด้วย 1) ด้านการวางแผนการดำเนินงานวิชาการของกลุ่มเครือข่ายเครือข่าย ผู้บริหารสถานศึกษาต้อง กำหนดบทบาทแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานวิชาการ กำหนดผู้รับผิดชอบ เพื่อวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในภายนอก 2) ด้านการดำเนินงานวิชาการของกลุ่มเครือข่าย ดำเนินงานวิชาการของเครือข่ายอย่างเป็นรูปธรรม เน้นการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายในการสนับสนุนการจัดการศึกษาด้านวิชาการให้มีคุณภาพ กำหนดตัวบุคคลในการดำเนินงานที่ชัดเจน 3) ด้านการนิเทศ กำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานวิชาการของกลุ่มเครือข่ายต้องจัดดำเนินการนิเทศทุกสถานศึกษา ทำรายงานสรุปผลการนิเทศเพื่อเป็นข้อมูลย้อนกลับในการส่งเสริม และพัฒนาอย่างต่อเนื่องการพัฒนาปรับปรุงวิธีการทำงานตามกระบวนการบริหารด้วยวงจรคุณภาพของเดมมิ่ง (PDCA) 4) ด้านการปรับปรุงแก้ไขของการดำเนินงานวิชาการของกลุ่มเครือข่าย และเงื่อนไขความสำเร็จในการนำแนวทางไปใช้ ยึดการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย ร่วมกันพัฒนาต่อยอดการดำเนินงานที่เป็นไปตามเป้าหมาย สำหรับ การดำเนินงานใดที่ยังไม่ถึงเป้าหมายต้องร่วมกันหาทางแก้ไข โดยใช้วงจรคุณภาพ PDCA ในการดำเนินงาน สู่ภาพความสำเร็จของการดำเนินงานในระยะยาว 3) ผลการตรวจสอบความถูกต้อง และความเหมาะสม ของทางการดำเนินงานวิชาการของกลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาประจิมพัฒนา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 6 อยู่ในระดับมากที่สุด สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดen_US
Appears in Collections:EDU: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
650232071 ปรัชยา สมนา.pdf2.57 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.