Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79776
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณวิทย์ อ่องแสวงชัย-
dc.contributor.authorฐาปนันท์ ชมภูงามen_US
dc.date.accessioned2024-07-17T00:40:48Z-
dc.date.available2024-07-17T00:40:48Z-
dc.date.issued2567-05-20-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79776-
dc.description.abstractThe Lampang railway community district is an old area of historical significance, once a bustling trading center. Within this area, there are old wooden houses of the railway, a Chinese market, as well as public and governmental buildings constructed to accommodate modern societal needs. However, the existing components are underutilized and do not align with the current context. This research aims to study and analyze the sustainable characteristics that promote the community's vitality. By collecting data to understand the local identity, it serves as a basis for appropriate development planning. The research methodology emphasizes analysis and summarization of urban concepts derived from synthesis and perspectives from various dimensions such as physical, social, and economic. This leads to comprehension and guides future development. The study found that the development of infrastructure and components of the railway community has been suitable and valuable for sustainable tourism development. However, there is a need for a framework for further development, such as improving transportation networks, land utilization, and appropriate building renovations. These findings conclude the utilization of space and analyze the significance of the Lampang railway community in the present and future. It provides guidelines for utilizing space and adapting to the current context effectively and sustainably.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectสัณฐานวิทยาเมือง, สัณฐานเมือง, การจัดรูปที่ว่าง, องค์ประกอบชุมชน, รถไฟเมืองลำปางen_US
dc.titleพัฒนาการของ ''ย่านสถานีรถไฟเมืองลำปาง'' ผ่านมุมมองของสถาปัตยกรรมเมืองen_US
dc.title.alternativeThe Study of the development of Lampang Railway Station Area through urban architecture perspectiveen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashสถาปัตยกรรม -- การออกแบบและผังพื้น-
thailis.controlvocab.thashสัณฐานวิทยา -- ลำปาง-
thailis.controlvocab.thashการออกแบบสถาปัตยกรรม -- ลำปาง-
thailis.controlvocab.thashผังเมือง -- ลำปาง-
thailis.controlvocab.thashภูมิสถาปัตยกรรมเมือง -- ลำปาง-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractย่านชุมชนรถไฟลำปาง เป็นย่านเก่าแก่ที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ เนื่องจากเคยเป็นศูนย์กลางการค้าเก่า พื้นที่นี้มีอาคารบ้านเรือนไม้เก่าของการรถไฟ และตลาดเก๊าจาว นอกจากนี้ยังมีอาคารสาธารณูปโภคและอาคารสาธารณูปการที่สร้างมาเพื่อรองรับรูปแบบสังคมสมัยใหม่ อย่างไรก็ตามองค์ประกอบที่มีอยู่ไม่ได้ใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่ และไม่สอดคล้องกับบริบทในปัจจุบัน การวิจัยนี้มีเป้าหมายในการศึกษาและวิเคราะห์ลักษณะสัณฐานที่ส่งเสริมความเป็นย่านอย่างยั่งยืน โดยการรวบรวมข้อมูลเพื่อความเข้าใจในอัตลักษณ์ถิ่นที่ และใช้ข้อมูลมาเป็นฐานในการวางแผนพัฒนาที่เหมาะสม โดยใช้ต้นทุนองค์ประกอบที่มีวิธีการศึกษาเน้นการวิเคราะห์และสรุปกรอบแนวคิดสัณฐานเมืองที่เป็นผลมาจากการสังเคราะห์และการวิเคราะห์มุมมองจากมิติต่าง ๆ เช่น ด้านกายภาพ สังคมและเศรษฐกิจ เพื่อให้เกิดความเข้าใจและนำไปสู่การพัฒนาต่อไปผลการศึกษาพบว่าพัฒนาการโครงสร้างและองค์ประกอบของย่านชุมชนรถไฟได้มีความเหมาะสมและมีคุณค่าในการอนุรักษ์และพัฒนาเป็นย่านท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน แต่ควรมีกรอบแนวทางในต้องพัฒนา เช่น การพัฒนาโครงข่ายสัญจร การใช้ประโยชน์ที่ดิน และการปรับปรุงอาคารอย่างเหมาะสม ผลลัพธ์นี้เพื่อสรุปการใช้ประโยชน์ของพื้นที่และวิเคราะห์ความสำคัญของย่านชุมชนรถไฟลำปางในปัจจุบันและในอนาคต โดยการพัฒนาแนวทางในการใช้ประโยชน์พื้นที่และปรับเปลี่ยนให้เข้ากับบริบทปัจจุบันได้อย่างเหมาะสมและยั่งยืนen_US
Appears in Collections:ARC: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621731001 TAPANUN CHOMPOONGARM.pdf14.66 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.