Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79620
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภิชาต โสภาแดง-
dc.contributor.authorพงศ์ณภัทร สมศักดิ์หิรัญen_US
dc.date.accessioned2024-07-04T10:15:58Z-
dc.date.available2024-07-04T10:15:58Z-
dc.date.issued2024-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79620-
dc.description.abstractThis study applied lean techniques to the exported trouser sewing process at People’s Garment Public Company Limited, aiming to decrease production time and increase output. By observing and analyzing the current working conditions, including motion and working time, it was found that there were 50 stations with 50 employees. The lead time was 4,398.54 seconds per trouser, resulting in a production rate of only 130 trousers per day against a target of 240 trousers per day. Additionally, bottlenecks were identified in various production processes. The study assessed the production time at each step and compared it with the target Takt time. Waste in each process was reduced using the principles of the 7 wastes. Adjusting work motions reduced the lead time by 8.32 seconds per trouser. Further reduction in waste was achieved using the 5W1H and ECRs principles, employing simplicity (S) to design suitable tools, which resulted in an additional lead time reduction of 11.30 seconds per trouser. Excessive inventory and waiting time were addressed through the 7 wastes principle and line balancing, reducing the production cost by eliminating 7 employee positions. With the standard wage being 345 baht/day/employee, this led to a cost saving of 60,375 baht per month or 724,500 baht per year. Production increased by 120 trousers per day or 3,000 trousers per year. Considering the profit per exported trouser was 65 baht, the company gained an additional profit of 195,000 baht per month or 2,340,000 baht per year. Furthermore, lead time was reduced from 4,398.54 seconds per trouser to 4,378.93 seconds per trouser, and utilization increased from 36.93% to 39.12%.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการเพิ่มผลิตภาพในแผนกเย็บกางเกงโดยใช้เทคนิคลีนen_US
dc.title.alternativeProductivity improvement of sewing pants department using lean techniquesen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการผลิตแบบลีน-
thailis.controlvocab.thashการตัดเย็บเสื้อผ้า-
thailis.controlvocab.thashโรงงานเสื้อผ้า-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้ได้นำเอาเทคนิคลีนมาประยุกต์ใช้เพื่อลดเวลาและเพิ่มผลผลิตในกระบวนการเย็บกางเกงขายาวส่งออก ของ บริษัท ประชาอาภรณ์ จำกัด (มหาชน) จากการเข้าไปศึกษาสภาพปัจจุบันของโรงงานโดยใช้การวิเคราะห์การเคลื่อนไหวและเวลาในการทำงาน พบว่ามีสถานีงานทั้งหมด 50 สถานนี มีพนักงานทั้งหมด 50 คน ใช้เวลาในการผลิตอยู่ที่ 4,398.54 วินาที/ตัว และสามารถทำผลผลิตกางเกงขายาวส่งออกได้เพียงวันละ 130 ตัว/วัน จากเป้าหมาย 240 ตัว/วัน นอกจากนี้ยังพบปัญหาคอขวดเกิดขึ้นหลายกระบวนการผลิต จึงได้นำเอาเวลาในการผลิตแต่ละกระบวนการมาวิเคราะห์ร่วมกับเวลาเป้าหมาย Takt time แล้วทำการลดความสูญเปล่าที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิตโดยใช้หลักของ 7 Wastes พบว่าในส่วนของ การเคลื่อนไหว สามารถลดเวลาการผลิตลงได้ 8.32 วินาที/ตัว ในส่วนของการความสูญเปล่าจากกระบวนการผลิต ได้นำหลักของ 5W1H มาวิเคราะห์ร่วมกับ ECRS โดยใช้หลักการของ S = Simplify มาทำการวิเคราะห์และจัดทำอุปกรณ์ใหม่ที่เหมาะสมกับการทำงานทำให้สามารถลดเวลาการผลิตลงได้ 11.30 วินาที/ตัว อีกทั้งยังได้นำเอาหลักการในเรื่อง การเก็บวัสดุคงคลังที่มากเกินไป และการรอคอยงาน เข้ามาวิเคราะห์ร่วมกับการจัดสมดุลการผลิต ส่งผลให้ทางบริษัทฯ สามารถลดต้นทุนค่าแรงงานลงไปได้ 7 คน อ้างอิงจากค่าแรงปัจจุบันอยู่ 345 บาท/วัน/คน การจัดสมดุลการผลิตทำให้บริษัทฯ สามารถลดต้นทุนค่าแรงคิดเป็น 60,375 บาท/เดือน หรือเท่ากับ 724,500 บาท/ปี และทำให้มีผลผลิตเพิ่มขึ้น 120 ตัว/วัน หรือ 3,000 ตัว/เดือน เมื่อคำนวณจากกำไรจากกางเกงขายาวส่งออกอยู่ที่ตัวละ 65 บาท/ตัว พบว่าทำให้บริษัทฯ มีกำไรเพิ่มขึ้นเดือนละ 195,000 บาท/เดือนหรือเท่ากับปีละ 2,340,000 บาท/ปี นอกจากนี้ระยะเวลาที่ใช้ในการผลิตจากเดิม 4,398.54 วินาที/ตัว ลดลงเหลือ 4,378.93 วินาที/ตัว และมีอรรถประโยชน์ (Utilization) เพิ่มขึ้นจาก 57.41% เป็น 72.30%en_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.