Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79533
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิสัยศิษฏ์ ชัยจรีนนท์-
dc.contributor.authorพรนภัส วงค์ษาen_US
dc.date.accessioned2024-06-19T10:35:45Z-
dc.date.available2024-06-19T10:35:45Z-
dc.date.issued2024-04-01-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79533-
dc.description.abstractObjective: This study aimed to evaluate the effect of surface treatment on shear bond strength (SBS) between polyamide and denture base resin. Materials and methods: Polyamide surfaces were treated with 6 methods including (1) no treatment (control), (2) air abrasion with aluminum oxide 110 microns, (3) application of 5% acetic acid in ethanol, (4) application of 4-META resin, (5) air abrasion followed by acetic acid and (6) air abrasion followed by 4-META resin prior to bonding with autopolymerizing polymethylmethacrylate (PMMA) resin. All specimens were immersed in 37 Oc for one week before being divided into 2 groups: non-thermocycling and thermocycling at 10,000 cycles. Both groups were tested SBS and specified failure mode. Furthermore, the polyamide surfaces after each treatment method were evaluated for surface roughness, surface morphology, and functional groups. The SBS data were statistically analyzed using two-way ANOVA and Tukey HSD (P<0.05) while surface roughness data were statistically analyzed using one-way ANOVA and Dunnett T3 (P<0.05). Results: Air abrasion followed by 4-META resin yielded the highest SBS in both thermocycling and non-thermocycling groups and had the highest surface roughness. The SBS from applying acetic acid or 4-META resin was not significantly different from the control. Conclusion: Within the limitation of the study, polyamide surface treated with air abrasion followed by 4-META resin is the most effective method to improve SBS to denture base resins. Keywords: Surface treatment, Shear bond strength, Polyamide, Denture base resinsen_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของการปรับสภาพพื้นผิวพอลิเอไมด์ด้วยวิธีการต่าง ๆ ต่อความแข็งแรงยึดเฉือนระหว่างพอลิเอไมด์และพีเอ็มเอ็มเอen_US
dc.title.alternativeEffect of various polyamide surface treatments on shear bond strength of Polyamide to PMMAen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashเรซินทางทันตกรรม-
thailis.controlvocab.thashเรซินอะคริลิกทางทันตกรรม-
thailis.controlvocab.thashสารยึดติดทางทันตกรรม-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวัตถุประสงค์ ศึกษาผลของการปรับสภาพพื้นผิวพอลิเอไมด์ด้วยวิธีการต่าง ๆ ต่อความแข็งแรงยึดเฉือนระหว่างพอลิเอไมด์และพีเอ็มเอ็มเอ วัสดุและวิธีการทดสอบ แบ่งกลุ่มการทดสอบเป็น 6 กลุ่มตามวิธีการปรับสภาพพื้นผิวพอลิเอไมด์ก่อนนำไปยึดกับอะคริลิกเรซินชนิดบ่มตัวด้วยตัวเอง ได้แก่ กลุ่มที่ 1) ไม่ทำการปรับสภาพพื้นผิว หรือกลุ่มควบคุม 2) พ่นผงอะลูมินัมออกไซด์ขนาด 110 ไมครอน 3) ทากรดอะซิติก ร้อยละ 5 ในเอทานอล 4) ทาสาร 4-META เรซิน 5) พ่นผงอะลูมินัมออกไซด์ขนาด 110 ไมครอนแล้วทากรดอะซิติก ร้อยละ 5 ในเอทานอล 6) พ่นผงอะลูมินัมออกไซด์ขนาด 110 ไมครอนแล้วทาสาร 4-META เรซิน หลังจากนั้นนำชิ้นทดสอบไปแช่ในน้ำอุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 1 สัปดาห์ แล้วจึงแบ่งกลุ่มการทดสอบเป็น 2 กลุ่มคือ กลุ่มที่ผ่านกระบวนการควบคุมร้อนเย็นเป็นจังหวะ 10,000 รอบ และกลุ่มที่ไม่ผ่านกระบวนการควบคุมอุณหภูมิร้อนเย็นเป็นจังหวะ จากนั้นทดสอบค่าแรงยึดเฉือนและวิเคราะห์ชนิดความล้มเหลว นอกจากนี้มีการศึกษาลักษณะพื้นผิวพอลิเอไมด์หลังจากทำการปรับสภาพผิวด้วยวิธีการต่าง ๆ โดยศึกษาค่าเฉลี่ยความหยาบพื้นผิว ลักษณะพื้นผิวและหมู่ฟังก์ชันที่เกิดขึ้น วิเคราะห์ค่าแรงยึดเฉือนด้วยสถิติ two way ANOVA และเปรียบเทียบพหุคูณด้วย Tukey HSD ที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ค่าความหยาบพื้นผิววิเคราะห์ทางสถิติด้วย oneway anova และเปรียบเทียบพหุคูณด้วย Dunnett T3 ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 ผลการศึกษา การพ่นผงอะลูมินัมออกไซด์ขนาด 110 ไมครอนแล้วทาสาร 4-META เรซินให้ค่าแรงเฉือนสูงสุดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทั้งในกลุ่มที่ผ่านและไม่ผ่านกระบวนการควบคุมอุณหภูมิร้อนเย็นเป็นจังหวะและมีค่าความหยาบพื้นผิวสูงที่สุด ส่วนการทากรดอะซิติก หรือ 4-META เรซินเพียงอย่างเดียวมีค่าแรงยึดเฉือนไม่แตกต่างกับกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ สรุปผลการศึกษา ภายใต้ข้อจำกัดของการศึกษาการปรับสภาพพื้นผิวพอลิเอไมด์ด้วยการพ่นผงอะลูมินัมออกไซด์ขนาด 110 ไมครอนแล้วทาสาร 4-META เรซินเป็นวิธีเพิ่มค่าแรงยึดเฉือนที่มีประสิทธิภาพสูงสุด (พีเอ็มเอ็มเอ) คำสำคัญ : การปรับสภาพพื้นผิว ค่าความแข็งแรงยึดเฉือน พอลิเอไมด์ ฐานฟันเทียมเรซินen_US
Appears in Collections:DENT: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
600931017-พรนภัส วงค์ษา.pdfThesis Phornnaphat Wongsa11.21 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.