Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79496
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSirirat Panuthai-
dc.contributor.advisorJindarat Chaiard-
dc.contributor.advisorRojanee Chintanawat-
dc.contributor.authorRazia Sultanaen_US
dc.date.accessioned2024-06-17T09:04:28Z-
dc.date.available2024-06-17T09:04:28Z-
dc.date.issued2024-01-15-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79496-
dc.description.abstractMultimorbidity negatively affects every aspect of quality of life among older persons (OP). Currently, there is an unclear understanding about the factors influencing the health-related quality of life (HRQOL) of OP with multimorbidity. This descriptive cross-sectional study aimed to test a causal model of HRQOL among OP with multimorbidity which synthesized from both Wilson and Cleary’s model of HRQOL and the literature. The sample included 410 Pakistani OP with multimorbidity, hospitalized in one of five Lahore public hospitals and selected using multi-stage sampling and proportionate stratified random sampling. Data were collected using a set of nine questionnaires, including the Demographic Data Form, the Six-CIT, the Barthel Index, the IADL, the GDS-15, the MSAS-SF, the VAS, the MSPSS, and the SF-36V2 Questionnaire, all of which were tested for reliability. Data analysis was done using descriptive statistics, Pearson’s product-moment correlation, and structural equation modeling.   The results illustrated that: 1. ADLs, social support, and perceived general health status were positively correlated with HRQOL at a high level, while symptom burden and depressive symptoms were negatively correlated with HRQOL at a high level (p < .01). 2. The modified final model of HRQOL fit with the empirical data (χ2 = 309.111, df = 73, p = 0.000, χ2/df = 4.234, CFI = 0.962, TLI = 0.937, RMSEA = 0.089, and SRMR = 0.052). The model explained 96.00% of the total variance in HRQOL. Social support had both positive direct and indirect effects on HRQOL via depressive symptoms, symptom burden, and ADLs (p < .01). ADLs had a positive direct effect on HRQOL(p < .01). Symptom burden had a negative indirect effect on HRQOL via ADLs (p < .01), and depressive symptoms had a negative indirect effect on HRQOL via symptom burden and ADLs (p < .01). Perceived general health status had no direct or indirect effect on HRQOL, but was affected by ADLs (p < .01). The results demonstrate that social support and activities of daily living are crucial factors affecting HRQOL. However, depressive symptoms and symptom burden also need reducing while enhancing social support and improving activities of daily living to attain optimum levels of HRQOL among OP with multimorbidity.en_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleA Causal model of health-related quality of life among older persons with multimorbidityen_US
dc.title.alternativeแบบจำลองเชิงสาเหตุของคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพในผู้สูงอายุโรคเรื้อรังหลายโรคร่วมen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.lcshCausal Model-
thailis.controlvocab.lcshOlder people-
thailis.controlvocab.lcshQuality of Life-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractภาวะโรคเรื้อรังหลายโรคร่วมส่งผลกระทบด้านลบต่อคุณภาพชีวิตในทุกด้านของผู้สูงอายุ ปัจจุบันยังขาดความเข้าใจที่ชัดเจนเกี่ยวกับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของผู้สูงอายุโรคเรื้อรังหลายโรคร่วม การวิจัยเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบแบบจำลองเชิงสาเหตุของคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของผู้สูงอายุโรคเรื้อรังหลายโรคร่วม ซึ่งพัฒนาจากแบบจำลองคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของวิลสันและเคลียร์รี่ (Wilson & Cleary) และการทบทวนวรรณกรรม กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยผู้สูงอายุปากีสถานที่มีโรคเรื้อรังหลายโรคร่วม จำนวน 410 คน ที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลของรัฐ จำนวน 5 แห่ง ในเมืองละฮอร์ที่ได้รับการคัดเลือกโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอนและแบบแบ่งชั้นตามสัดส่วน รวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม จำนวน 9 ชุด ได้แก่ แบบสัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินสมรรถภาพการรู้คิด 6 ข้อ แบบประเมินความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจําวันขั้นพื้นฐานดัชนีบาร์เธล แบบประเมินความสามารถในการทํากิจวัตรประจําวัน แบบวัดความซึมเศร้าในผู้สูงอายุ แบบประเมินประสบการณ์อาการ แบบประเมินอาการทางกายภาพของเท้าและข้อเท้า แบบสอบถามความรู้สึกหลากหลายมิติเกี่ยวกับความช่วยเหลือทางสังคมและแบบสอบถาม SF-36V2 ที่ผ่านการทดสอบความเชื่อมั่นแล้ว วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติสหสัมพันธ์เพียร์สันและการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง   ผลการวิจัยพบว่า 1. ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจําวัน การสนับสนุนทางสังคม และการรับรู้ภาวะสุขภาพโดยทั่วไปมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพระดับสูง ในขณะที่การรับรู้ภาระจากอาการและอาการซึมเศร้ามีความสัมพันธ์เชิงลบกับคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพระดับสูง (p<.01) 2. แบบจำลองของคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (χ2 = 309.111, df = 73, P = 0.000, χ2/df = 4.234, CFI = 0.962, TLI = 0.937, RMSEA = 0.089 และ SRMR = 0.052) และอธิบายความแปรปรวนของคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพได้ร้อยละ 96.00 การสนับสนุนทางสังคมมีผลทั้งทางตรงและทางอ้อมเชิงบวกต่อคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพผ่านอาการซึมเศร้า การรับรู้ภาระจากอาการและความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจําวัน (p<.01) ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจําวันมีผลทางตรงเชิงบวกต่อคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพ (p<.01) การรับรู้ภาระจากอาการมีผลทางอ้อมเชิงลบ ต่อคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพ ผ่านความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจําวัน (p<.01) และอาการซึมเศร้ามีผลทางอ้อมเชิงลบต่อคุณภาพ ชีวิตด้านสุขภาพผ่านการรับรู้ภาระจากอาการและความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจําวัน (p<.01) การรับรู้ภาวะสุขภาพโดยทั่วไปไม่มีผลทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อคุณภาพชีวิต ด้านสุขภาพแต่ได้รับผลทางตรงจากความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจําวัน (p<.01) ผลการศึกษาที่พบว่าการสนับสนุนทางสังคมและความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพ อย่างไรก็ตามการส่งเสริมคุณภาพชีวิตด้านสุขภาพของผู้สูงอายุโรคเรื้อรังหลายโรคร่วมควรส่งเสริมการสนับสนุนทางสังคมและความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันร่วมกับการลดอาการซึมเศร้าและการรับรู้ภาระจากอาการen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611255806 Razia Sultana WM.pdf8.04 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.