Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79470
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorJaruwan Khonmee-
dc.contributor.advisorChatchote Thitaram-
dc.contributor.advisorVeerasak Punyapornwithaya-
dc.contributor.advisorJanine L. Brown-
dc.contributor.advisorPakkanut Bansiddhi-
dc.contributor.authorจารวี สุปันต๋าen_US
dc.date.accessioned2024-05-14T09:42:40Z-
dc.date.available2024-05-14T09:42:40Z-
dc.date.issued2024-02-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79470-
dc.description.abstractThe COVID-19 pandemic has had a significant impact on the tourism industry, especially in Thailand. Starting in April 2020, the Thai government banned international travel and all elephant tourist camps closed. A wide variety of management changes were implemented because of the lack of income from tourists. This study surveyed 30 camps that cared for >400 elephants in northern Thailand to obtain information on camp, elephant, and mahout management during the COVID-19 pandemic from April 2020 to April 2022 compared to the year before. Fifty-eight elephants (14 males and 44 females) from six tourist camps were assigned a body condition score (BCS) and blood and fecal samples were collected monthly for 2 years during the travel ban to measure: 1) muscle enzymes [creatine kinase (CK), aspartate aminotransferase (AST)]; 2) liver enzymes [aspartate aminotransferase (AST), alkaline phosphatase (ALP), gamma-glutamyl transferase (GGT)]; 3) lipids [total cholesterol (TC), triglycerides (TG), low (LDL) and high (HDL) density lipoproteins]; and metabolic function [glucose, insulin, fructosamine]; and 4) stress hormone — fecal glucocorticoid metabolites (fGCM); 5) serum oxidative stress [malondialdehyde (MDA) and 8-hydroxy-2'-deoxyguanosine (8-OHdG)]; and 6) stress leukograms and heterophil/lymphocyte (H/L) ratio. Serum CK concentrations were lower at the end of the study, possibly due to no tourist activities like riding. Changes in liver function included increased AST and ALP, also possibly due to physical inactivity. Feeding fewer bananas and sugar cane was associated with fewer elephants in the obese category and lower TG concentrations. However, increases in glucose, insulin, and fructosamine were observed as local people returned to feed elephants after lifting travel restrictions. In addition, fGCM concentrations increased within the first few months and remained higher than pre-COVID levels, as did the H/L ratio, a measure affected by cortisol. Serum 8-OHdG, an indicator of DNA oxidative damage, also increased over time, while monocytosis and lymphopenia further suggested alterations in immune function as a result of stress. In sum, changes in several health and stress biomarkers were observed in association with restricted activities and food resources. Camps need better plans to meet the health and welfare needs of elephants during any future disruptions to the tourism industry, although reduced feeding of sweet treats appeared to have positive effects on body condition and metabolic function.en_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleEffect of the COVID-19 crisis on tourist elephant camp management and elephant welfare in Chiang Mai, Thailanden_US
dc.title.alternativeผลของวิกฤติโรคโควิด-19 ต่อการจัดการปางช้างเพื่อการท่องเที่ยวและสวัสดิภาพช้างในจังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทยen_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.lcshCOVID-19 (Disease) -- Chiangmai-
thailis.controlvocab.lcshElephants -- Training-
thailis.controlvocab.lcshTravel -- Economic aspects-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ส่งผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยว โดยเฉพาะในประเทศไทย เริ่มตั้งแต่เดือนเมษายน 2563 รัฐบาลไทยประกาศงดการเดินทางระหว่างประเทศและปิดปางช้างนักท่องเที่ยวช้างทั้งหมด มีการเปลี่ยนแปลงการจัดการหลากหลายเนื่องจากขาดรายได้จากนักท่องเที่ยว การศึกษานี้สำรวจการจัดการปางช้าง 30 ปาง มีการดูแลช้างมากกว่า 400 เชือกในภาคเหนือของประเทศไทย เพื่อเก็บข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการปางช้าง และควาญช้างในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด-19 ตั้งแต่เดือนเมษายน 2563 ถึงเมษายน 2565 โดยเปรียบเทียบกับช่วงก่อนการระบาดของโรคโควิด-19 กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยช้างจำนวน 58 เชือก (เพศผู้ 14 เชือก และเพศเมีย 44 เชือก) จากปางช้างเพื่อการท่องเที่ยว 6 ปาง ได้ประเมินคะแนนสภาพร่างกาย (BCS) และเก็บตัวอย่างเลือดและอุจจาระทุกเดือนเป็นเวลา 2 ปีในระหว่างการศึกษาเพื่อตรวจวัด 1) เอนไซม์ของกล้ามเนื้อ [Creatine kinase (CK), Aspartate transaminase (AST)]; 2) เอนไซม์ตับ [Aspartate transaminase (AST), Alkaline phosphatase (ALP), Gamma-glutamyl transferase (GGT)]; 3) ไขมันในกระแสเลือด [Total cholesterol (TC), Triglycerides (TG), Low-density lipoprotein (LDL) และ High-density lipoprotein (HDL)] และการทำงานของระบบเผาผลาญ (กลูโคส (Glucose), อินซูลิน (Insulin), ฟรุกโตซามีน (Fructosamine) และ 4) ฮอร์โมนความเครียด — ฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์ในอุจจาระ (Fecal glucocorticoid metabolites ;fGCM); 5) สารอนุมูลอิสระ [มาลอนไดอัลดีไฮด์ (Malondialdehyde; MDA) และ 8-hydroxy-2'-deoxyguanosine; 8-OHdG)] และ 6) อัตราส่วนระหว่างเม็ดเลือดขาวชนิด Heterophil/Lymphocyte (H/L) ผลการศึกษาพบว่าความเข้มข้นของ CK ลดลงเมื่อสิ้นสุดการศึกษา อาจเนื่องจากไม่มีกิจกรรมท่องเที่ยว เช่น การขี่ช้าง เดินป่ากับนักท่องเที่ยว เป็นต้น การเปลี่ยนแปลงการทำงานของตับรวมถึง AST และ ALP เพิ่มขึ้นอาจเกิดจากไม่มีการออกกำลังกายเช่นกัน นอกจากนี้การให้อาหารชนิดกล้วยและอ้อยลดน้อยลงมีความสัมพันธ์กับช้างที่มีคะแนนความสมบูรณ์ร่างกายลดลงอีกทั้งมีความเข้มข้นของ TG ลดลง อย่างไรก็ตาม พบการเพิ่มขึ้นของกลูโคส อินซูลิน และฟรุกโตซามีน เนื่องจากนักท่องเที่ยวคนไทยกลับมาให้อาหารช้างหลังจากรัฐบาลประกาศยกเลิกงดการเดินทางของนักท่องเที่ยว นอกจากนี้ความเข้มข้นของ fGCM เพิ่มขึ้นภายในสองสามเดือนแรกและยังคงสูงกว่าในช่วงก่อนโควิด-19 เช่นเดียวกับอัตราส่วนของเม็ดเลือดขาวชนิด H/L นอกจากนี้ ความเข้มข้นของ 8-OHdG ซึ่งเป็นตัวบ่งชี้ความเสียหายของสารพันธุกรรมเพิ่มขึ้น ในขณะที่ภาวะ monocytosis และ lymphopenia มีการเปลี่ยนแปลงในการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันอันเป็นผลมาจากความเครียดอีกด้วย กล่าวโดยสรุป การศึกษานี้พบการเปลี่ยนแปลงของตัวชี้วัดทางชีวภาพด้านสุขภาพและความเครียดหลายประการที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมและทรัพยากรอาหารที่ถูกจำกัด ปางช้างจำเป็นต้องมีแผนที่ดีเพื่อรับมือต่อความต้องการด้านสุขภาพและสวัสดิภาพของช้างต่อโรคระบาดในอนาคต แม้ว่าการลดปริมาณอาหารข้นหรืออาหารพลังงานสูงจะส่งผลเชิงบวกต่อสภาพร่างกายและการทำงานของระบบเผาผลาญก็ตามen_US
Appears in Collections:VET: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631455904 Jarawee Supanta.pdf6.59 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.