Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79459
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorKullapop Suttiat-
dc.contributor.authorSudarat Wongphattarakulen_US
dc.date.accessioned2024-05-08T10:00:26Z-
dc.date.available2024-05-08T10:00:26Z-
dc.date.issued2024-02-28-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79459-
dc.description.abstractDental caries is a highly prevalent chronic disease affecting more than 40% of the population. Therefore, the development of ions releasing material that can provide sustained fluoride release in the oral cavity is of great interest for preventing dental caries. The objective of this research is to develop anticariogenic poly(lactic acid) (PLA) composites and assess the fluoride release, rechargeability and degradation behaviors. The present study involved the preparation of polylactic acid (PLA) composites containing various concentrations (0%, 5%, 10%, 15%, and 20% by weight) of glass ionomer cement (GIC) and sodium fluoride (NaF) utilizing the solvent casting method. The study assessed the release and rechargeability of fluoride ions and the degradation behavior. Results showed that fluoride-releasing ability was observed in all experimental groups. The PLA composite with sodium fluoride (PLA/NaF) exhibited the highest concentration of released fluoride ions. Both groups displayed a steady decline in fluoride ion released over a period of 28 days, with levels ranging from 0.03 ± 0.01 to 0.53 ± 0.06 ppm, while still staying within the range that is effective for tooth remineralization. However, the rechargeability was only seen in PLA composite with GIC (PLA/GIC). The results of the in vitro degradation test indicated that the PLA/NaF groups exhibited a significantly greater percentage of weight change and water absorption in comparison to both the PLA/GIC and control groups. In SEM analysis, the formation of surface porosities was apparent in all PLA/NaF. In conclusion, the newly developed PLA/GIC displays promising possibilities as an anticariogenic material, as the concentration is sufficient to contribute effectively to remineralization processes. Furthermore, the rechargeability of these ions are repeatable, ensuring their continued utility over extended durations.en_US
dc.language.isoen_USen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleFluoride release and rechargeability of Poly(lactic acid) composites with glass Ionomer cementen_US
dc.title.alternativeความสามารถในการปลดปล่อยและการประจุกลับฟลูออไรด์ ของพอลิแลคติกแอซิดผสมกลาสไอโอโนเมอร์ซีเมนต์en_US
dc.typeThesis-
thailis.controlvocab.lcshGlass ionomer cements-
thailis.controlvocab.lcshPoly(lactic acid)-
thailis.controlvocab.lcshFluorides-
thailis.controlvocab.lcshFluoride varnishes-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractโรคฟันผุเป็นโรคเรื้อรังที่พบได้อย่างแพร่หลาย ซึ่งส่งผลกระทบต่อประชากรมากกว่า 40% ดังนั้นการพัฒนาวัสดุที่มีความสามารถในการปลดปล่อยประจุฟลูออไรด์ได้อย่างยั่งยืนภายในช่องปากจึงเป็นสิ่งที่มีความน่าสนใจเป็นอย่างยิ่งในการป้องกันการเกิดโรคฟันผุ วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้ คือ เพื่อการดัดแปลงพอลิแลคติกแอซิดคอมโพสิตและกลาสส์ไอโอโนเมอร์ซีเมนต์เพื่อให้มีการปลดปล่อยและ บรรจุกลับใหม่ของฟลูออไรด์ อีกทั้งเพื่อประเมินความสามารถในการปลดปล่อย ความสามารถในการบรรจุกลับใหม่และความสามารถในการย่อยสลายของฟลูออไรด์ ในการศึกษานี้เกี่ยวข้องกับการเตรียมวัสดุพอลิแลคติกแอซิดคอมโพสิตสองชนิด ประกอบไปด้วยกลาสส์ไอโอโนเมอร์ซีเมนต์และโซเดียมฟลูออไรด์ ซึ่งมีการเตรียมวัสดุในความเข้มข้นที่แตกต่างกัน คือ 0%, 5%, 10%, 15% และ 20% โดยใช้วิธีการหล่อด้วยตัวทำละลาย การศึกษานี้ประเมินความสามารถในการปลดปล่อยและการบรรจุกลับใหม่ของฟลูออไรด์ อีกทั้งยังประเมินพฤติกรรมการย่อยสลายของวัสดุ โดยผลลัพธ์ในการวิจัยแสดงให้เห็นว่า พบการปลดปล่อยฟลูออไรด์ในกลุ่มทดลองทั้งหมด กลุ่มวัสดุพอลิแลคติกแอซิดคอมโพสิตและโซเดียมฟลูออไรด์แสดงให้เห็นถึงการปลดปล่อยฟลูออไรด์ในความเข้มข้นที่สูงที่สุด แต่อย่างไรก็ตามทั้งสองกลุ่มแสดงให้เห็นถึงการลดลงอย่างต่อเนื่องของฟลูออไรด์ที่ถูกปลดปล่อยออกมาในช่วง 28 วัน โดยมีช่วงระดับการปลดปล่อยตั้งแต่ 0.03 ± 0.01 ถึง 0.53 ± 0.06 พีพีเอ็ม แต่ยังคงอยู่ในช่วงที่มีประสิทธิภาพในการฟื้นฟูแร่ธาตุของฟัน อย่างไรก็ตามกลุ่มพอลิแลคติกแอซิดคอมโพสิตและกลาสส์ไอโอโนเมอร์ซีเมนต์เป็นเพียงกลุ่มเดียวที่พบความสามารถในการบรรจุกลับใหม่ของฟลูออไรด์ได้ อีกทั้งผลลัพธ์ของการทดสอบการย่อยสลายในหลอดทดลองพบว่า กลุ่มวัสดุพอลิแลค ติกแอซิดคอมโพสิตและโซเดียมฟลูออไรด์แสดงให้เห็นถึงการมีอัตราการเปลี่ยนแปลงน้ำหนักและการดูดทรึมน้ำที่มากกว่าอย่างมีนัยสำคัญเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มวัสดุพอลิแลคติกแอซิดคอมโพสิตและกลาสส์ไอโอโนเมอร์ซีเมนต์และกลุ่มควบคุม โดยสรุปเเล้ววัสดุพอลิแลคติกแอซิดคอมโพสิตและกลาสส์ไอโอโนเมอร์ซีเมนต์ที่ถูกพัฒนาขึ้นใหม่แสดงให้เห็นถึงความเป็นไปได้ที่จะถูกนำมาใช้เป็นวัสดุที่สามารถป้องกันการเกิดฟันผุ หากมีความเข้มข้นที่เพียงพอในการส่งเสริมให้เกิดกระบวนการฟื้นฟูแร่ธาตุได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งความสามารถในการบรรจุใหม่ของไอออนเหล่านี้ยังสามารถทำซ้ำได้ จึงทำให้มั่นใจว่าจะสามารถใช้งานได้อย่างต่อเนื่องตลอดระยะเวลาที่ยืดยาวออกไปen_US
Appears in Collections:DENT: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
640931024 - Sudarat Wongphattarakul.pdf2.29 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.