Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79417
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรพล เศรษฐบุตร-
dc.contributor.advisorภาณุพันธุ์ ประภาติกุล-
dc.contributor.advisorแสงทิวา สุริยงค์-
dc.contributor.authorวิมลสิริ หงษ์คำen_US
dc.date.accessioned2024-01-16T14:30:32Z-
dc.date.available2024-01-16T14:30:32Z-
dc.date.issued2023-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79417-
dc.description.abstractThe objectives of this research were: 1. To study the production conditions needed for production promotion and problems in producing Phulae pineapple in Mueang District, Chiang Rai Province. 2. To analyze the relationship between basic personal characteristics, economics, society and some pineapple production conditions and the need to promote Phulae pineapple production by farmers in Mueang District, Chiang Rai Province. and 3. To provide recommendations obtained from analysis to promote farmers' knowledge in Phulae pineapple production. There were 227 Phulae pineapple farmers in Mueang District, Chiang Rai Province. The sample size was determined at 95% using Taro Yamane's formula. The researcher used the formula to determine proportions from an appropriate sample, yielding a sample size of 145 people. Data were analyzed using statistics such as percentage, average, maximum, minimum, deviation and hypothesis testing when using multiple regression analysis. According to the findings of the study, farmers who grow Phulae pineapple are 51.00 percent male, with an average age of 54.90 years, 29.70 percent graduated from primary school, 52.40 percent grow only Phulae pineapple, the average household has 4.22 people, the average experience in growing Phulae pineapples is 11.50 years, and 74.50 percent of farmers decide to grow Phulae pineapple, 72.40 percent have land for pineapple cultivation, 57.20 percent have land and 81.40 percent use their financial resources. Farmers sold Phulae pineapples for an average of 22,516.55 baht per production cycle in 2021. Every year, there are two production cycles. The average yield per production cycle is 917.93 kilograms. However, 96.60 percent of farmers received information about growing pineapples from other farmers, and 85.50 percent had yet to contact agricultural extension officers. Farmers have a low level of need for knowledge in pineapple production ("X" ̅= 1.52) and a low level of demand for knowledge transfer through agricultural promotion methods in the production of Phulae pineapple ("X" ̅ = 1.40). The hypothesis testing of factors related to farmers' need for knowledge in Phulae pineapple production (Y1) discovered a positive relationship between one independent variable and the dependent variable, which was statistically significant at the 0.01 level; these include the source of funds for cultivation (Sig. = 0.008). Two variables have a negative relationship with the dependent variable with statistical significance at the 0.05 level: age (Sig. = 0.011) and the amount of production (Sig. = 0.050). An analysis of factors related to the desire to receive knowledge transfer through agricultural promotion methods (Y2) found that two independent variables had a significant positive relationship with the dependent variable. Statistically, at the 0.01 level was the source of funds for cultivation (Sig. = 0.008), and the variable with a negative relationship with the dependent variable with statistical significance at the 0.01 level was age (Sig. = 0.005). Phulae pineapple production faces several problems, such as low production prices 89.00 percent, insufficient funding for growth 50.30 percent, fertilizer 46.20 percent, intermediaries 39.30 percent, labor 30.30 percent, low productivity 28.10 percent, product quality not meeting market demand 22.10 percent, weeds 21.40 percent, product transportation 16.60 percent and insufficient market to sale 4.80 percent. Suggestions from a sample group of Phulae pineapple farmers: 1) Most farmers suggested that relevant government agencies assist with the price guarantee. 2) The appropriate government agencies come and assist in providing knowledge on the use of fertilizer or in producing fertilizer for one's use to reduce the use of chemical fertilizers and the cost of purchasing fertilizer. 3) Farmers would like relevant government agencies to assist in promoting Phulae pineapple processing and 4) Farmers would like relevant officials or agencies to visit the area regularly.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความต้องการการส่งเสริมการผลิตสับปะรดภูแลของเกษตรกรในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงรายen_US
dc.title.alternativeFarmers’ needs for extension on Phu Lae pineapple production in Mueang district, Chiang Rai provinceen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashสับปะรด-
thailis.controlvocab.thashสับปะรด -- การผลิต -- เชียงราย-
thailis.controlvocab.thashสับปะรด -- การปลูก -- เชียงราย-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการผลิต ความต้องการการส่งเสริมการผลิต และปัญหาในการผลิตสับปะรดภูแลในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย 2) เพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะพื้นฐานส่วนบุคคล เศรษฐกิจ สังคม และสภาพการผลิตสับปะรดบางประการกับความต้องการการส่งเสริมการผลิตสับปะรดภูแลของเกษตรกรฯ และ3) เพื่อให้ข้อเสนอแนะที่ได้ จากการวิเคราะห์ในการส่งเสริมความรู้ในการผลิตสับปะรดภูแลของเกษตรกร โดยศึกษากับเกษตรกรผู้ปลูกสับปะรดภูแล ในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย จำนวน 227 ราย ในการทำวิจัยกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของ Taro Yamane ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% และใช้สูตรการกำหนดสัดส่วนจากตัวอย่างที่เหมาะสมได้จำนวนกลุ่มตัวอย่าง 145 ราย วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าสูงสุด ค่าต่ำสุด ส่วนเบี่ยงเบน และทดสอบสมมติฐานด้วยการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัย พบว่า เกษตรกรผู้ปลูกสับปะรดภูแลเป็นเพศชาย ร้อยละ 51.00 อายุเฉลี่ย 54.90 ปี จบการศึกษาในระดับประถมศึกษาตอนต้น ร้อยละ 29.70 เกษตรกรปลูกสับปะรดภูแลเพียงอย่างเดียว ร้อยละ 52.40 จำนวนสมาชิกในครัวเรือนเฉลี่ย 4.22 คน ประสบการณ์ในการปลูกสับปะรดภูแลเฉลี่ย 11.50 ปี เกษตรกรส่วนใหญ่มีช่องทางจำหน่ายสับปะรดภูแลผ่านทางพ่อค้าคนกลาง ร้อยละ 74.50 เกษตรกรตัดสินใจปลูกสับปะรดภูแลจากการชักชวนแนะนำของเกษตรกรรายอื่นร้อยละ 72.40 พื้นที่ในการเพาะปลูกสับปะรดเฉลี่ย 13.23 ไร่ มีพื้นที่ถือครองเป็นของตนเองร้อยละ 57.20 ใช้แหล่งเงินทุนของตนเองในการเพาะปลูกสับปะรด ร้อยละ 81.40 ในปี พ.ศ. 2564 เกษตรกรมีรายได้จากการจำหน่ายสับปะรดภูแลเฉลี่ย 22,516.55 บาทต่อรอบการผลิต โดยมีจำนวนรอบการผลิต 2 รอบต่อปี ปริมาณผลผลิตเฉลี่ย 917.93 กิโลกรัมต่อรอบการผลิต ทั้งนี้พบว่าเกษตรกรได้รับข่าวสารเกี่ยวกับการปลูกสับปะรดจากเกษตรกรรายอื่น ร้อยละ 96.60 แต่เกษตรกรส่วนใหญ่ไม่ได้มีการติดต่อกับเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร ร้อยละ 85.50 โดยภาพรวมเกษตรกรมีความต้องการความรู้ในการผลิตสับปะรดอยู่ในระดับน้อย ("X" ̅= 1.52) และภาพรวมความต้องการได้รับการถ่ายทอดความรู้ผ่านวิธีการส่งเสริมการเกษตรในการผลิตสับปะรดภูแลในระดับน้อย ("X" ̅ = 1.40) ผลการวิเคราะห์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความต้องการความรู้ในการผลิตสับปะรดภูแล ของเกษตรกร (Y1) พบว่า มีตัวแปรอิสระจำนวน 1 ตัวแปรที่มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับตัวแปรตามอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ได้แก่ แหล่งเงินทุนในการเพาะปลูก (Sig. = 0.008) และมี 2 ตัวแปรที่มีความสัมพันธ์เชิงลบกับตัวแปรตามอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่ อายุ (Sig. = 0.011) และปริมาณผลผลิต (Sig. = 0.050) การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความต้องการได้รับการถ่ายทอดความรู้ผ่านวิธีการส่งเสริมการเกษตร (Y2) พบว่า ตัวแปรอิสระ จำนวน 2 ตัวแปร ที่มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับตัวแปรตามอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ได้แก่ แหล่งเงินทุนในการเพาะปลูก (Sig. = 0.008) และตัวแปรที่มีความสัมพันธ์เชิงลบกับตัวแปรตามอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ได้แก่ อายุ (Sig. = 0.005) ปัญหาด้านการผลิตสับปะรดภูแล ได้แก่ ราคาผลผลิตต่ำ (ร้อยละ 89.00) การขาดเงินทุนใน การปลูกสับปะรดภูแล (ร้อยละ 50.30) ปุ๋ย (ร้อยละ 46.20) ปัญหาด้านพ่อค้าคนกลาง (ร้อยละ 39.30)แรงงาน (ร้อยละ 30.30) ผลผลิตตกต่ำ (ร้อยละ 28.30) คุณภาพของผลผลิตไม่ตรงตามความต้อง การของตลาด (ร้อยละ 22.10) วัชพืช (ร้อยละ 21.40) การขนส่งผลผลิต (ร้อยละ 16.60) และการขาดแคลนตลาด (ร้อยละ 4.80) ข้อเสนอแนะของเกษตรกรในการผลิตสับปะรดภูแล 1) เกษตรกรส่วนใหญ่เสนอแนะให้หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องเข้ามาช่วยเหลือในเรื่องของ การประกันราคาสับปะรดภูแล 2) เสนอแนะให้หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องเข้ามาช่วยให้ความรู้ ในเรื่องของการใช้ปุ๋ยหรือการผลิตปุ๋ยใช้เองเพื่อลดการใช้ปุ๋ยเคมีและลดค่าใช้จ่ายในการซื้อปุ๋ยเคมี 3) เกษตรกรต้องการให้หน่วยงานภาครัฐที่เกี่ยวข้องเข้ามาช่วยเหลือในด้านการส่งเสริมการแปรรูปสับปะรดภูแล และ4) เกษตรกรต้องการให้มีเจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องลงพื้นที่เป็นประจำหรือสม่ำเสมอ ข้อเสนอแนะจากผลการวิจัย เจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรมีนโยบายในการช่วยเหลือเกษตรกรในด้านของการประกันราคาขั้นต่ำให้กับสับปะรดภูแล หรือการหาตลาดมารองรับผลผลิตให้แก่เกษตรกร การสนับสนุนด้านปัจจัยในการผลิตให้กับเกษตรกร เน้นการถ่ายทอดความรู้ ผ่านวิธีการส่งเสริมแบบรายบุคคลในรูปแบบของการเยี่ยมบ้านและไร่สับปะรด และวิธีการส่งเสริม แบบกลุ่มในรูปแบบของการฝึกอบรม และการจัดประชุม เป็นต้นen_US
Appears in Collections:AGRI: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630831043 วิมลสิริ หงษ์คำ.pdf2.09 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.