Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79413
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAchara Sukonthasarn-
dc.contributor.advisorSuparat Wangsrikhun-
dc.contributor.authorZhao, Qien_US
dc.date.accessioned2024-01-14T16:58:14Z-
dc.date.available2024-01-14T16:58:14Z-
dc.date.issued2023-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79413-
dc.description.abstractMedication adherence is vital for controlling symptoms and preventing complications of chronic rhinosinusitis (CRS). The purpose of this descriptive study was to examine medication adherence and barriers to medication adherence among persons with CRS. Purposive sampling was used to recruit 259 participants from the First Affiliated Hospital of Kunming Medical University, the People’s Republic of China. The research instruments included the Demographic Data Form developed by the researcher, the 12-item Medication Adherence Scale (Ueno et al., 2018), and the Adherence Barriers Questionnaire (ABQ) (Müller et al., 2015). The 12-item Medication Adherence Scale and the ABQ were translated into Chinese by the researcher and were tested for their reliability, yielding Cronbach’s alphas of 0.78 and 0.82, respectively. Descriptive statistics were used to analyze data. The results of this study revealed the following: 1. The participants had high medication adherence scores (M = 48.97, SD = 5.25); 2. The intentional adherence barriers were the belief that medications are all poison (M = 3.33, SD = 0.75), unsure of the need for taking medication (M = 3.26, SD = 0.68), and barriers to access healthcare (M = 3.15, SD = 0.66). The unintentional adherence barriers were feeling discouraged or depressed (M = 3.23, SD = 0.70), forgetfulness (M = 3.12, SD = 0.73), and not receiving required help (M = 2.59, SD = 0.94). The medication barriers were stopping or decreasing taking medication due to side effects (M = 3.23, SD = 0.59), being afraid of the medication side effects (M = 3.22, SD = 0.66), and problems when taking medication (M = 3.19, SD = 0.68). The healthcare system barrier was the burden of co-payment (M = 3.25, SD = 0.69). The results of this study provide basic information regarding medication adherence and barriers to medication adherence among persons with CRS. Healthcare providers could develop strategies to lessen identified barriers to further enhance medication adherence among persons with CRS.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectMedication adherenceen_US
dc.subjectchronic rhinosinusitisen_US
dc.subjectbarriersen_US
dc.titleMedication adherence and barriers among persons with chronic rhinosinusitis, the first affiliated hospital of Kunming Medical University, The People’s Republic of Chinaen_US
dc.title.alternativeความร่วมมือในการใช้ยาและอุปสรรคในผู้ที่เป็นไซนัสอักเสบเรื้อรัง โรงพยาบาลเครือแห่งแรกของมหาวิทยาลัยการแพทย์คุนหมิง สาธารณรัฐประชาชนจีนen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshKunming Medical University-
thailis.controlvocab.lcshSinusitis-
thailis.controlvocab.lcshDrug utilization-
thailis.controlvocab.lcshChemotherapy-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractความร่วมมือในการใช้ยามีความสำคัญต่อการควบคุมอาการและป้องกันภาวะแทรกซ้อนของโรคไซนัสอักเสบเรื้อรัง การวิจัยเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความร่วมมือในการใช้ยาและอุปสรรคต่อความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ที่เป็นไซนัสอักเสบเรื้อรัง คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงจำนวน 259 คน จากโรงพยาบาลในเครือของมหาวิทยาลัยแพทย์คุนหมิง ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลซึ่งพัฒนาโดยผู้วิจัย แบบประเมินความร่วมมือในการใช้ยา 12 ข้อ (Ueno et al., 2018) และแบบสอบถามอุปสรรคต่อ ความร่วมมือในการใช้ยา (Müller et al., 2015) แบบประเมินความร่วมมือในการใช้ยา 12 ข้อ และแบบสอบถามอุปสรรคต่อความร่วมมือในการใช้ยาได้รับการแปลเป็นภาษาจีนโดยผู้วิจัยและนำไปทดสอบความเชื่อมั่นได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค 0.78 และ 0.82 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ผลการศึกษาครั้งนี้ มีดังนี้ 1. กลุ่มตัวอย่างมีคะแนนความร่วมมือในการใช้ยาในระดับสูง (ค่าเฉลี่ย 48.97 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 5.25) 2. อุปสรรคต่อความร่วมมือแบบตั้งใจ ได้แก่ ความเชื่อว่ายาทุกชนิดเป็นพิษ (ค่าเฉลี่ย 3.33, ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.75), ไม่มั่นใจว่าจำเป็นต้องรับประทานยา (ค่าเฉลี่ย 3.26 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.68) และมีอุปสรรคในการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ (ค่าเฉลี่ย 3.15 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.66) อุปสรรคต่อความร่วมมือแบบไม่ตั้งใจ ได้แก่ ความรู้สึกหมดกำลังใจหรือซึมเศร้า (ค่าเฉลี่ย3.23 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.70)การลืม (ค่าเฉลี่ย3.12 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.73) และการไม่ได้รับความช่วยเหลือที่ต้องการ (ค่าเฉลี่ย2.59 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.94) อุปสรรคเกี่ยวกับยา ได้แก่ การหยุดหรือลดการรับประทานยาเนื่องจากผลข้างเคียง (ค่าเฉลี่ย3.23 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.59) ความกลัวเกี่ยวกับผลข้างเคียงของยา (ค่าเฉลี่ย3.22 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.66) และปัญหาที่เกิดขึ้นเมื่อรับประทานยา (ค่าเฉลี่ย 3.19 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.68) อุปสรรคเกี่ยวกับระบบบริการสุขภาพ ได้แก่ ภาระในการจ่ายค่ารักษาร่วม (ค่าเฉลี่ย 3.25 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.69) ผลการศึกษาครั้งนี้เป็นข้อมูลพื้นฐานเรื่องความร่วมมือในการใช้ยาและอุปสรรคในการใช้ยาของผู้ที่เป็นไซนัสอักเสบเรื้อรัง บุคลากรสุขภาพสามารถพัฒนาวิธีการลดอุปสรรคที่ค้นพบเพื่อส่งเสริมความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ที่เป็นไซนัสอักเสบเรื้อรังให้ดียิ่งขึ้นต่อไปen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621235811-QiZhao.pdf2.61 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.