Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79391
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAssoc. Prof. Dr. Chatchote Thitaram-
dc.contributor.advisorAssoc. Prof. Dr. Veerasak Punyapornwithaya-
dc.contributor.advisorAssoc. Prof. Dr. Kidsadagon Pringproa-
dc.contributor.advisorDr. Janine Louise Brown-
dc.contributor.authorวรพงศ์ โกษารักษ์ Worapong Kosaruken_US
dc.date.accessioned2024-01-10T02:03:37Z-
dc.date.available2024-01-10T02:03:37Z-
dc.date.issued2023-11-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79391-
dc.description.abstractThe Asian elephant (Elephas maximus) serves as a keystone species, playing a crucial role in wildlife-based ecotourism in Thailand. Captive elephants, mostly privately owned and residing in tourist-oriented facilities known as "elephant camps" across Thailand, have the potential to significantly impact elephant welfare and health due to diverse management styles and activities. Various diseases afflict captive elephants, including gastrointestinal issues, lameness, eye problems, and the deadliest ailment in calves: elephant endotheliotropic herpesvirus-hemorrhagic disease (EEHV-HD). These diseases pose a global threat to elephant conservation efforts. This study delves into biomarkers linked to oxidative stress and abnormal coagulation condition in elephants, taking into account both internal factors (age, sex, and health condition) and external factors (season and the temperature-humidity index). The findings underscore the correlation between age, season, and shifts in oxidative stress markers, emphasizing the importance of considering these factors during data analysis. Additionally, the health condition of elephants exerts an impact on their oxidative status, particularly noticeable in calves afflicted with acute EEHV-HD. These calves exhibited significantly elevated concentrations of malondialdehyde, glutathione peroxidase, and catalase, along with reduced serum albumin levels when compared to their healthy counterparts. However, the association between changes in oxidative stress markers and the salivary shedding of elephant endotheliotropic herpesvirus (EEHV) remains uncertain when longitudinally monitored, possibly owing to the limited number of shedding events during the study. As for coagulation markers, calves with acute EEHV-HD displayed prolonged prothrombin and activated partial thromboplastin times, and the lowest platelet count among various illness conditions, suggesting a pathological mechanism of this virus involving both intrinsic and extrinsic coagulation pathways. Results suggest the potential utility of this biomarker in predicting and monitoring elephant diseases. The study contributes valuable insights into the alterations in oxidative stress and coagulation biomarkers, shedding light on the pathophysiology of elephant ailments. Consequently, the findings can be applied within veterinary practice as an additional analytical tool for assessing and monitoring elephant health conditions, as well as a prognostic tool for ailing elephants. Future studies should explore how these biomarkers evolve in relation to other variables, such as management practices, dietary factors, activities, social dynamics, and various environmental influences.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titlePredisposing markers for diagnosis of elephant endotheliotropic herpesvirus-hemorrhagic disease and other illness conditionsen_US
dc.title.alternativeดัชนีโน้มนำโรคเพื่อการวินิจฉัยโรคเลือดออกจากไวรัสเฮอร์ปีส์ในช้างและภาวะความเจ็บป่วยอื่นen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshHerpesvirus-
thailis.controlvocab.lcshHerpesvirus diseases-
thailis.controlvocab.lcshHerpesvirus diseases in animals-
thailis.controlvocab.lcshElephants -- Diseases-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractช้างเอเชีย (Elephas maximus) มีบทบาทสำคัญอย่างมากในการท่องเที่ยวเชิงนิเวศสัตว์ป่าในประเทศไทย ประชากรช้างเลี้ยงส่วนใหญ่อาศัยอยู่ในปางช้างเลี้ยงเอกชนเพื่อการท่องเที่ยวซึ่งในปัจจุบันมีการจัดการปางและกิจกรรมของช้างที่หลากหลาย ซึ่งสามารถส่งผลกระทบต่อสุขภาพของช้างได้ทั้งทางตรงและทางอ้อม ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในช้างเลี้ยงในประเทศไทย ได้แก่ อาการที่เกี่ยวข้องกับทางเดินอาหาร การเจ็บขา ปัญหาตา รวมถึงโรคติดเชื้อที่ร้ายแรงอย่างมากในลูกช้างคือโรคเลือดออกจากไวรัสเฮอร์ปีส์ในลูกช้าง เป็นต้น โดยโรคเหล่านี้ก่อให้เกิดผลกระทบต่อการสวัสดิภาพและการอนุรักษ์ช้างทั่วโลก การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาดัชนีทางชีวภาพที่เกี่ยวข้องกับภาวะเครียดออกซิเดชันและภาวะผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด เพื่อประเมินถึงปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงดัชนีทางชีวภาพดังกล่าวในช้างเลี้ยงในประเทศไทย ซึ่งการเปลี่ยนแปลงของดัชนีทางชีวภาพที่ศึกษานี้อาจส่งผลโดยตรงต่อสุขภาพของช้าง ความไวต่อการเกิดโรค ผลการตอบสนองต่อการรักษา รวมถึงการพยากรณ์ของโรคในช้างแต่ละเชือก ผลการศึกษาพบว่าปัจจัยเรื่องอายุและฤดูกาลที่ทำการเก็บตัวอย่างมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของระดับดัชนีภาวะเครียดออกซิเดชัน ในขณะที่ปัจจัยเรื่องเพศของช้างไม่ส่งผลกับค่าดัชนีดังกล่าว นอกจากนี้ปัจจัยเรื่องปัญหาสุขภาพของช้างมีแนวโน้มทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของค่าดัชนีภาวะเครียดออกซิเดชันอย่างมีนัยสำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในลูกช้างที่ป่วยด้วยภาวะเลือดออกจากไวรัสเฮอร์ปีส์ พบว่ามีการเพิ่มสูงขึ้นของค่ามาลอนไดแอลดีไฮด์ เอนไซม์กลูตาไธโอนเปอร์ออกซิเดสและเอนไซม์คาตาเลส ในขณะที่ค่าซีรัมอัลบูมินลดต่ำลงเมื่อเทียบกับในช้างปกติอย่างมีนัยสำคัญ อย่างไรก็ตามจากการติดตามการเปลี่ยนแปลงของค่าดัชนีภาวะเครียดออกซิเดชันในรายฤดูกาลร่วมกับตรวจวัดการขับของเชื้อไวรัสเฮอร์ปีส์ทางน้ำลายของช้าง พบว่ายังมีความสัมพันธ์ที่ไม่แน่ชัดระหว่างการเปลี่ยนแปลงของค่าดัชนีและเชื้อเฮอร์ปีส์ที่ขับออกมาทางน้ำลาย ซึ่งอาจเป็นผลเนื่องมาจากการการตรวจพบการขับของเชื้อค่อนข้างน้อยในระยะเวลาที่ศึกษา เบื้องต้นพบว่าค่าดัชนีที่บ่งชี้ความเสียหายของสารพันธุกรรม (8-hydroxydeoxyguanosine) มีความสัมพันธ์กับค่ารอบปฏิกิริยาที่ตรวจพบยีนของไวรัสเฮอร์ปีส์จากกระบวนการปฏิกิริยาลูกโซ่โพลีเมอเรสแบบเรียลไทม์อย่างมีนัยสำคัญ ในการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับดัชนีการแข็งตัวของเลือดในช้างเลี้ยงนั้น พบว่าช้างที่ป่วยด้วยโรคเลือดออกจากไวรัสเฮอร์ปีส์มีระยะเวลาการแข็งตัวของเลือดเพิ่มขึ้น (Prothrombin time และ activated partial thromboplastin time) และจำนวนเกล็ดเลือดลดต่ำลงเมื่อเทียบกับช้างปกติ บ่งชี้ว่าการติดเชื้อดังกล่าวส่งผลกระทบต่อกลไกการแข็งตัวของเลือดทั้งกลไกภายในและกลไกภายนอก (intrinsic และ extrinsic coagulation pathway) ข้อมูลจากการศึกษานี้ช่วยเพิ่มความเข้าใจในกระบวนการพยาธิสรีระวิทยาของโรคในช้างที่เกี่ยวข้องกับภาวะเครียดออกซิเดชันและภาวะการแข็งตัวของเลือด สามารถนำเอาดัชนีทางชีวภาพดังกล่าวมาประยุกต์ใช้ทางคลินิกเพื่อช่วยในการวินิจฉัย ติดตาม และพยากรณ์โรคในช้างได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช้างที่ป่วยด้วยโรคเลือดออกจากไวรัสเฮอร์ปีส์ในอนาคตen_US
Appears in Collections:VET: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
641455901-WORAPONG KOSARUK.pdf948.82 kBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.