Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79380
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปิยมาศ ใจไฝ่-
dc.contributor.authorศุภรัช พงศ์คุณาพรen_US
dc.date.accessioned2024-01-08T01:10:22Z-
dc.date.available2024-01-08T01:10:22Z-
dc.date.issued2566-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79380-
dc.description.abstractThis thesis, 'Sex in Cyborg' aims to study sex due to technological developments which turns humans into cyborgs. It was studied through surveying sex in four dimensions and in the scientific perspectives, sociocultural perspectives, technosexuality and philosophy, together with analyzed and compared with Donna Haraway's critical cyborg concept through content appearing in the movie, ‘Her’. The study found that Haraway used cyborgs as a metaphor for the breaking down of dualities. This characteristic appears on the character, Samantha, Os who does not have a human biological body but be able to have sex. Samantha according to Donna Haraway perspective, is a Cyborg by her ambiguity. There are several points, including: 1) have sex or not 2) human or Os and 3) being in real world or digital world. Those all characteristics lead to conclude that cyborg could have sex by comprehend and understanding the concept of sex through program processing which transcend physical being in real world. According to this assumption, making sex breaks through the limitations of one-on-one physical relationship pattern. Moreover, Samantha represents a breaking up duality of being physical body or non-physical body. Therefore, sex in cyborg opens up the possibility of sex that could be felt just like sex in humans and even exists everywhere without limit in the digital world.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectSex, Cyborg, Donna Harawayen_US
dc.titleเซ็กส์ในไซบอร์กen_US
dc.title.alternativeSex in Cyborgen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashเพส-
thailis.controlvocab.thashการแสดงออกทางเพศ-
thailis.controlvocab.thashเพศศึกษา-
thailis.controlvocab.thashการสื่อสารทางเพศ-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยเรื่องเซ็กส์ในไซบอร์ก ต้องการศึกษาการมีอยู่ของเซ็กส์ที่ไร้ร่างกายจากการพัฒนาทางเทคโนโลยีที่ทำให้มนุษย์กลายเป็นไซบอร์ก โดยทำการสำรวจเซ็กส์ใน 4 มิติ ได้แก่ มิติทางวิทยาศาสตร์ มิติทางสังคมและวัฒนธรรม มิติทางเทคโนโลยี และมิติทางปรัชญา และนำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เปรียบเทียบกับแนวคิดไซบอร์กแบบวิพากษ์ของดอนนา ฮาราเวย์ ผ่านเนื้อหาที่ปรากฏในภาพยนตร์เรื่อง Her จากการศึกษาพบว่าฮาราเวย์ใช้ไซบอร์กเป็นอุปลักษณ์ของการสลายเส้นแบ่งทางทวิลักษณ์ ซึ่งเป็นคุณสมบัติที่ปรากฏในตัวละครโอเอสซาแมนธาที่ไม่มีร่างกายชีวภาพแบบมนุษย์แต่สามารถมีเซ็กส์ได้ และได้ผลการวิเคราะห์ว่ามีความสอดคล้องตามนิยามไซบอร์กข้างต้น 3 ประการด้วยกัน ได้แก่ 1) มีเพศหรือไม่มีเพศ 2) ความเป็นมนุษย์หรือโอเอส และ 3) การมีอยู่ในโลกจริงหรือในโลกดิจิทัล จากคุณสมบัติเหล่านี้จึงพอสรุปได้ว่า ไซบอร์กสามารถมีเซ็กส์ได้ในระดับมโนทัศน์ตามการประมวลผลของข้อมูลที่ก้าวพ้นการมีอยู่แบบที่ยึดติดกับความเป็นวัตถุทางกายภาพ ทำให้เซ็กส์ทะลุข้อจำกัดทางความสัมพันธ์ทางร่างกายที่เคยมีแบบหนึ่งต่อหนึ่ง ยิ่งไปกว่านั้น จากการศึกษายังแสดงให้เห็นถึงความเป็นไปได้ทางตัวตนที่สามารถสลายทวิภาวะระหว่างการมีหรือไม่มีร่างกาย ดังนั้น เซ็กส์ในไซบอร์กจึงเปิดความเป็นไปได้ของการมีเซ็กส์ที่สามารถรู้สึกได้เช่นเดียวกับเซ็กส์ในมนุษย์ ทว่าสามารถมีอยู่ได้ทุกที่อย่างไม่จำกัดในโลกดิจิทัลen_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630131008-ศุภรัช พงศ์คุณาพร.pdf1.12 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.