Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79366
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัยวุฒิ ตั้งสมชัย-
dc.contributor.authorพัชรพงษ์ อินยาศรีen_US
dc.date.accessioned2024-01-02T17:29:45Z-
dc.date.available2024-01-02T17:29:45Z-
dc.date.issued2566-11-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79366-
dc.description.abstractThe purpose of this independent study is to study the saving behavior of personnel at Payap University, using a questionnaire to collect data from 301 personnel samples at the university. Statistical analysis is conducted using descriptive statistics to explain the saving behavior of the University personnel and inferential statistics to explain factors that affect the amount of savings by applying multiple regression. The study found that among the sample group of 225 females, most were between the ages of 41 and 50, married, had completed a master's degree, had 3 to 4 family members, had less than 10 years of work experience, and were working in operational positions. The average monthly income was between 15,001 and 25,000 baht, with an average additional income of no more than 5,000 baht per month. The average monthly expenses were between 10,000 and 20,000 baht, and personnel did not have any health-related expenses. The study found that the savings behavior of personnel was mainly self-determined, with the majority choosing to save for emergency expenses in various types of deposit accounts at financial institutions. They saved an average of no more than 5,000 baht per month, with no definite limit on the amount of savings. The most important factor affecting their decision to save was the amount of expenses. In a multiple regression analysis, it was found that income, expenses, and health expenses were related to savings, which could explain the amount of savings by 87.5% at a significant level of 0.05. Holding other factors constant, an increase of 1 baht in monthly income led to an increase of 0.75 baht in monthly savings. An increase of 1 baht in monthly expenses led to a decrease of 0.74 baht in monthly savings. An increase of 1 baht in monthly health expenses led to a decrease of 0.63 baht in monthly savings. When personnel were lecturers, the result showed found an increase of 1,270 baht on average above others.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectการออมของบุคลากรมหาวิทยาลัยพายัพen_US
dc.subjectSavings of Payup University Employeesen_US
dc.titleการศึกษาการออมของบุคลากรมหาวิทยาลัยพายัพen_US
dc.title.alternativeA Study on savings of Payup University employeesen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashมหาวิทยาลัยพายัพ -- อาจารย์-
thailis.controlvocab.thashมหาวิทยาลัยพายัพ -- พนักงาน-
thailis.controlvocab.thashการออมกับการลงทุน-
thailis.controlvocab.thashการเงินส่วนบุคคล-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการออมของบุคลากรมหาวิทยาลัยพายัพโดยใช้แบบสอบถามเก็บข้อมูลจากบุคลากรมหาลัยพายัพ จำนวน 301 คน ซึ่งใช้สถิติเชิงพรรณนา เพื่ออธิบายถึงพฤติกรรมการออมของบุคลากรมหาวิทยาลัยพายัพ และใช้สถิติเชิงอนุมานเพื่ออธิบายปัจจัยที่มีผลต่อปริมาณเงินออม โดยการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ ผลการศึกษาการออมของบุคลากรมหาวิทยาลัยพายัพ จากกลุ่มตัวอย่างส่วนเป็นเพศหญิง 225 คน ส่วนใหญ่มีอายุ 41 ถึง 50 ปี มีสถานภาพสมรส จบการศึกษาระดับปริญญาโท มีจำนวนสมาชิกในครอบครัว 3 ถึง 4 คน มีอายุงานไม่เกิน 10 ปี ปฏิบัติงานตำแหน่งระดับปฏิบัติการ เป็นบุคลากรประเภทอาจารย์ 169 คน มีรายได้ต่อเดือนเฉลี่ย 15,001 ถึง 25,000 บาท ส่วนใหญ่ มีรายได้พิเศษเฉลี่ยต่อเดือนไม่เกิน 5,000 บาท มีค่าใช้จ่ายต่อเดือนเฉลี่ย 10,000 บาท ถึง 20,000 บาท บุคลากรไม่มีค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ ผลการศึกษาพบว่าพฤติกรรมการออมของบุคลากรส่วนใหญ่ มีการตัดสินใจออมด้วยตนเอง โดยออมเพื่อใช้จ่ายยามฉุกเฉิน ซึ่งเลือกออมไว้ในบัญชีเงินฝากประเภทต่าง ๆ ใน สถาบันการเงิน มีการออมประจำทุกเดือน เดือนละไม่เกิน 5,000 บาท จากการจัดสรรเงินออมด้วยตนเอง ไม่ได้จำกัดวงเงินการออมที่แน่นอน โดยปริมาค่าใช้จ่ายมีความสำคัญต่อการตัดสินใจออมระคับมากที่สุด ส่วนในการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ พบว่ารายได้ ค่าใช้จ่าย ค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ และบุคลากรที่เป็นอาจารย์มีความสัมพันธ์ต่อการออมซึ่งสามารถอธิบายปริมาณเงินออมได้ ร้อยละ 87.5 ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 โดยเมื่อให้ปัจจัยอื่นคงที่ รายได้ต่อเดือนที่เพิ่มขึ้น 1 บาท ทำให้การออมต่อเดือนเพิ่มขึ้น 0.75 บาท เมื่อค่าใช้จ่ายต่อเดือนที่เพิ่มขึ้น 1 บาท ทำให้การออมต่อเดือนลดลง 0.74 บาท และเมื่อค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพต่อเดือน ที่เพิ่มขึ้น 1 บาท ทำให้การออมต่อเดือนลดลง 0.63 บาท เมื่อเป็นอาจารย์การออมเพิ่มขึ้น 1270 บาทen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621532113-พัชรพงษ์ อินยาศรี.pdf1.23 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.