Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79353
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมานพ แก้วโมราเจริญ-
dc.contributor.authorอานนท์ บุญสูงen_US
dc.date.accessioned2024-01-02T16:34:02Z-
dc.date.available2024-01-02T16:34:02Z-
dc.date.issued2565-01-24-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79353-
dc.description.abstractThe construction of prefabricated building spend long time to complete the construction drawings in 2D format of the precast work. Therefore, it has begun to apply the modeling system of building information in the form of 3D construction works of the precast system. These system will reduce the time of research writing precast work. The building information modeling was used to reduce the precast uptime from the original 2D CAD process to 3D process by using the Planbar design program to adjust the design process of inserting steel, lifting point position, position of the wall mounting parts. Period of time for precast concrete drawings, including on-site problems arising from precast drawings. Also, process improvements were evaluated afterwards by using a questionnaire from the production supervisor and on-site inspectors. The number of sample questionnaires is 20. It has been used to improve the process. Also, to compared with the original process that uses a 2D catalyst. The result of 3D process by using the Planbar design program is more times faster. And it gets more completedly details information.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectPLANBARen_US
dc.subjectซอฟต์แวร์แพลนบาร์en_US
dc.titleการปรับปรุงกระบวนการออกแบบและการผลิตงานคอนกรีตสําเร็จโดยประยุกต์ใช้แบบจำลองสารสนเทศอาคารด้วยซอฟต์แวร์แพลนบาร์en_US
dc.title.alternativeImprovement of precast concrete design and manufacturing process by applying adopting building information modeling with PLANBAR softwareen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashอาคาร -- การออกแบบและการสร้าง-
thailis.controlvocab.thashการก่อสร้างคอนกรีต-
thailis.controlvocab.thashคอนกรีตหล่อสำเร็จรูป-
thailis.controlvocab.thashการก่อสร้างคอนกรีตหล่อสำเร็จรูป-
thailis.controlvocab.thashอาคาร -- แบบจำลอง-
thailis.controlvocab.thashการก่อสร้าง -- โปรแกรมคอมพิวเตอร์-
thailis.controlvocab.thashการก่อสร้าง -- การประมวลผลข้อมูล-
thailis.controlvocab.thashซอฟต์แวร์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานก่อสร้างอาคารสำเร็จรูปใช้ระยะเวลาในการเขียนแบบก่อสร้างในรูปแบบ 2 มิติของานพ รีคาสต์ได้นาน จึงได้เริ่มมีการประยุกต์ใช้ระบบแบบจำลองสารสนเทศอาคารในรูปแบบงาน 3 มิติ ใน งานก่อสร้างในระบบพรีคาสต์เพื่อลดระยะเวลาในการเขียนแบบงานพรีคาสต์งานวิจัยได้นำ แบบจำลองสารสนเทศอาคารมาใช้เพื่อลดระยะเวลาการทำงานของระบบงานพรีคาสต์จาก กระบวนการเดิมที่การทำงานแบบแคด 2 มิติ กลายเป็นการทำงาน 3 มิติโดยใช้โปรแกรมออกแบบแพ ลนบาร์ (PLANB.AR) มาปรับกระบวนการออกแบบ การใส่เหล็ก ตำแหน่งจุดยก คำแหน่งส่วนยึครั้ง ชิ้นส่วนผนัง ระยะเวลาในการเขียนแบบงานคอนกรีตสำเร็จรูปรวมถึงปัญหาห น้างานที่เกิดจากการ เขียนแบบงานพรีคาสต์ หลังจากนั้นได้ประเมินการปรับปรุงกระบวนการ โดยใช้แบบสอบถามแบบ จากผู้ควบคุมการผลิตและผู้ตร วจสอบหน้างาน จำนวนกลุ่มผู้สอบถามตัวอย่าง 20 คน แล้วนำมา ปรับปรุงกระบวนการ และนำมาเปรียบเทียบกับกระบวนเดิมที่ใช้แบบแคด 2 มิติ ผลปรากฎว่างานใน รูปแบบ 3 มิติโดยใช้โปรแกรมออกแบบแพลนบาร์ ได้ระยะเวลาที่เร็วกว่าหลายเท่าและ ได้รายละเอียด ของข้อมูลครบยิ่งขึ้นen_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630632023 อานนท์ บุญสูง.pdf5.11 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.