Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79339
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorAreerath Akatvipat-
dc.contributor.advisorSukolrat Boonyayatra-
dc.contributor.authorA Dul Sangthongen_US
dc.date.accessioned2023-12-13T10:00:29Z-
dc.date.available2023-12-13T10:00:29Z-
dc.date.issued2021-02-17-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79339-
dc.description.abstractThe fracture and dislocation patterns of the thoracic and lumbar vertebrae and the surgical outcome in dogs and cats were retrospective investigated at the Small Animal Teaching Hospital, Chiang Mai University since October 2016 to December 2019. The 913 patients were found having traumatic injuries. There was 26.07% (238/913) of these patients had traumatic spinal injury. There were 82.77% (197/238) had injuries at the thoracic and lumbar areas which consisted of the dogs by 64.97% (128/197), and the cats by 35.03% (69/197). The most common damaged location in dogs and cats was T3 - L3 (47.48%, 113/238), followed by L4 - L7 (34.87%, 83/238), S1 -S3 (16.39%, 39/238), C1 -C5 (0.84%, 2/238), and C6 - T2 (0.42%, 1/238). Luxation was the most pattern of damage found in dogs by 37.49% followed as combined fracture and luxation 27.34%, burst/compression 20.90%, transverse fracture 3.90%, and hyperflexion 1.56%. The hyperextension was not found in dogs in this study. Similarly, luxation was the most pattern of damage found in cats by 39.12%, however, burst/compression was the second found by 27.54%, following as combined fracture and luxation 17.39%, transverse fracture 14.49%, and hyperextension 1.44%. The hyperflexion was not found in cats in this study. In dogs, 47 patients (36.72%) were chosen on conservative treatment whilst 21 dogs (16.40%) were performed surgery, 7 dogs (5.46%) were euthanized, 53 dogs (41.41%) did not have any treatments at the Small Animal Teaching Hospital, Chiang Mai University. In 69 cats, 33 cats (47.83%) were selected on conservative treatment, 6 cats (8.69%) having surgery, 9 cats (13.04%) were euthanized, and 21 cats (30.43%) did not have any treatments at the Small Animal Teaching Hospital, Chiang Mai University. The 21 dogs and 6 cats, who had surgical treatment, 52.38% (11/21) of the dogs and 50% (3/6) of the cats in this study had the better outcomes in six months after the surgery.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleA Retrospective study of fracture and dislocation patterns of Thoracic and Lumbar Vertebrae and surgical outcome in dogs and catsen_US
dc.title.alternativeการศึกษาย้อนหลังของรูปแบบการหักและเคลื่อนของกระดูกสันหลังส่วนอกและเอวและผลการผ่าตัดในสุนัขและแมวen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshDogs -- Surgery-
thailis.controlvocab.lcshCats -- Surgery-
thailis.controlvocab.lcshBones -- Surgery-
thailis.controlvocab.lcshVeterinary surgical nursing-
thailis.controlvocab.lcshVeterinary nursing-
thailis.controlvocab.lcshFractures in animals -- Treatment-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาย้อนหลังของรูปแบบการหักและการเคลื่อนของกระดูกสันหลังส่วนอกและส่วนเอว และผล การผ่าตัดในสุนัขและแมวในระหว่างเดือนตุลาคม พ.ศ. 2559 ถึง เดือนธันวาคม พ.ศ. 2562 ที่ โรงพยาบาลสัตว์เล็ก มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พบว่ามีสัตว์ป่วยจากการบาดเจ็บ 913 ตัว ในจำนวนนี้มี การบาดเจ็บในส่วนของกระดูกสันหลัง 26.07% (238/913) และพบ ว่า 82.77% (197/238) เป็นการ บาดเจ็บในส่วนกระดูกสันหลังส่วนอกและส่วนเอว โคยในจำนวนนี้ประกอบด้วยสุนัข 64.97% (128/197) และแมว 35.03% (69/197) ตำแหน่งกระดูกสันหลังที่ได้รับความเสียหายมากที่สุดเรียง ตามลำดับคือ ช่วงกระดูกสันหลังส่วนอกที่ 3 ถึงกระดูกสันหลังส่วนเอวที่ 3 (T3 - L3) (47.48%, 113/238) (65/128) รองลงมาคือ ช่วงกระดูกสันหลังส่วนเอวที่ 4 ถึงกระดูกสันหลังส่วนเอวที่ 7 (L4 - L7) (34.87%, 83/238) ช่วงกระดูกสันหลังส่วนกันกบที่ 1 ถึงกระดูกสันหลังก้นกบที่ 3 (S1 - S3) (16.39%, 39/238) ช่วงกระดูกสันหลังส่วนคอที่ 1 ถึงกระดูกสันหลังส่วนคือที่ 5 (C1 - C5) (0.84%, 2/238) และช่วงกระดูกสันหลังส่วนคอที่ 6 ถึงกระดูกสันหลังส่วนอกที่ 2 (C6 - T2) (0.42%, 1/238) ใน สุนัขพบรูปแบบความเสียหายแบบการเลื่อนของกระดูกสันหลังมากที่สุด โดยพบที่ 37.49% รองลงมา คือรูปแบบความเสียหายที่เกิดร่วมระหว่างการหักและเลื่อนที่ 27.34% ความเสียหายแบบการแตก/กด 20.90% ความเสียหายแบบทรานส์เวิส 3.90% และความเสียหายแบบไฮเปอร์เฟลกชัน 1.56% ไม่พบ รูปแบบความเสียหายแบบไฮเปอร์เอ็กส์เทนชั่นในสุนัขในการศึกษานี้ ในแมวพบรูปแบบความ เสียหายแบบการเลื่อนของกระดูกสันหลังมากที่สุดโดยพบที่ 39.12% รองลงมาคือรูปแบบความ เสียหายแบบการแตก/กด 27.54% ความเสียหายที่เกิดร่วมกันระหว่างการหักและเลื่อนที่ 17.39% ความ เสียหายแบบทรานส์เวิส 14.49% และความเสียหายแบบไฮเปอร์เอ็กส์เทนชั่น 1.44% ไม่พบความ เสียหายแบบไฮเปอร์เฟลกชันในแมวในการศึกษานี้ ในสุนัข 36.729 (47/128) ได้รับการรักษาประคอง อาการแบบดั้งเดิม ในขณะที่สุนัข 16.40% (21/128) ได้รับการรักษาโดยการผ่าตัด สุนัข 5.46% (7/128) ได้รับการทำเมตตาฆาต สุนัข 41.41% (53/128) เจ้าของได้ปฏิเสธการรักษาที่ โรงพยาบาลสัตว์เล็ก มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในแมว 47.83% (33/69) ได้รับการรักษาประคองอาการแบบดั้งเดิม ในขณะที่ แมว 8.69% (6/69) ได้รับการรักษาโดยการผ่าตัด แมว 13.04% (9/69) ได้รับการทำเมตตาฆาต และแมว 30.43% (21/69) เจ้าของได้ปฏิเสธการรักษาที่ โรงพยาบาลสัตว์เล็กมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สุนัข 21 ตัว และแมว 6 ตัวที่ได้รับการผ่าตัด พบว่าที่ 6 เดือนหลังการผ่าตัด สุนัขและแมวจำนวน 52.38% (11/21) และ 50% (3/6) มีอาการที่ดีขึ้นเมื่อเทียบก่อนผ่าตัดen_US
Appears in Collections:VET: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621435901 อดุลย์ แสงทอง.pdf2.6 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.