Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79307
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorFisher, Christopher A.-
dc.contributor.advisorPhisit Kotsupho-
dc.contributor.authorBusara Rakphongen_US
dc.date.accessioned2023-12-12T15:37:52Z-
dc.date.available2023-12-12T15:37:52Z-
dc.date.issued2016-12-26-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79307-
dc.description.abstract"Freedom" has always been a problem in Metaphysics. Humanity has been searching and fighting for it for a long time. It is not certain that freedom really exists. Surprisingly, restriction, as a contradiction of freedom, makes it possibly exist. "We are free," does not seem to be completed until we state where or what we are free from. There are two main types of freedom under consideration in this study: positive and negative freedoms. Positive freedom is freedom to do what one wants to do. This type of freedom is internal freedom, whereas another type of freedom, negative freedom, is external freedom. Negative freedom is freedom from limitations. Humans are really free when they are both positively and negatively free. That is, one can do what he wants to do without anything or anyone stopping him from doing so. That is the real freedom he has. Biopolitics and economic limitations are the main freedom constraints people are confronted with today. People cannot be really free with these conditions and to unlock them we need to create tools to do so. In this study, the Universal Basic Income is a selected tool for unlocking to the real freedom. Eventually, the result shows that it is possible for the Universal Basic Income to create freedom for people in society. As this freedom is not naturally born but created, thus, it is "synthetic freedom."en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.subjectUniversal Basic Incomeen_US
dc.titleConcept of freedom from the socialist perspectives of the universal basic incomeen_US
dc.title.alternativeแนวคิดเรื่องเสรีภาพจากมุมมองแบบสังคมนิยม ของทฤษฎีรายได้พื้นฐานสากลen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshSocialism and liberty-
thailis.controlvocab.lcshLiberty-
thailis.controlvocab.lcshIncome-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstract"เสรีภาพ" เป็นปัญหาทางอภิปรัชญาที่มนุษย์ได้พยายามตามหา หาคำตอบ และ ไขว่คว้าให้ได้มาเป็น เวลานาน แต่เสริภาพนั้นมีอยู่จริงหรือไม่นั้นก็ยังไม่สามารถหาข้อสรุปไค้แค่การตั้งเงื่อนไขหรือ ข้อจำกัดขึ้นมานั้นกลับทำให้การมีอยู่จริงของเสรีภาพนั้นเป็นเรื่องที่อาจจะเป็นไปได้ ดังเช่น การพูดว่า "เรามีเสรีภาพ" อาจจะฟังดูไม่สมบูรณ์มากนัก หากแต่ต้องอธิบายเงื่อนไขแห่งเสรีภาพ และข้อจำกัดที่ ถูกทำลายลงเสียก่อน "เสรีภาพ" นั้นจึงอาจจะพอเข้าใจว่ามีอยู่จริงได้ เสรีภาพสามารถแบ่งออกเป็นสองประเภทคือ เสรีภาพด้านบวก และเสรีภาพด้านลบ เสรีภาพด้านบวก คือเสรีภาพที่จะกระทำหรือไม่กระทำการใดๆตามที่ตนต้องการ เสรีภาพชนิดเกิดจากภายใน ในขณะที่ เสรีภาพอีกประเภทหนึ่ง คือ เสรีภาพด้านลบ เป็นเสรีภาพที่ได้รับจากภายนอก เสรีภาพด้านลบนั้นคือ เสรีภาพที่เกิดขึ้นจากการ ไม่ถูกบังคับให้กระทำการใดๆจากสิ่งหรือบุคคลอื่น มนุษย์สามารถมีเสรีภาพ ที่แท้จริงได้เมื่อมีทั้งเสรีภาพด้านบวกและด้านลบ กล่าวคือ สามารถกระทำหรือไม่กระทำการใดๆที่ ตนต้องการโดยไม่ถูกยับยั้งหรือบังคับจากสิ่งหรือบุคคลรอบข้าง ชีวการเมืองและข้อจำกัดทางเศรษฐกิจต่างก็เป็นข้อจำกัดแห่งเสรีภาพที่ผู้คนต่างประสบกันในปัจจุบัน ทั้งสิ้น เราไม่สามารถที่จะมีเสรีภาพที่แท้จริงได้หากยังมีข้อจำกัดเหล่านี้อยู่ ทฤษฎีรายได้พื้นฐานสากล จึงอาจจะเป็นเครื่องมือที่นำเราไปสู่เสรีภาพที่แท้จริงได้ และเสรีภาพที่ถูกสร้างขึ้นจากเครื่องมือทาง สังคมนี้จึงถูกเรียกว่า "เสรีภาพสังเคราะห์"en_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580131014-บุศรา รักพงษ์.pdf2.09 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.