Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79306
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรรถจักร์ สัตยานุรักษ์-
dc.contributor.authorธีรญา ชาวนาen_US
dc.date.accessioned2023-12-12T15:34:51Z-
dc.date.available2023-12-12T15:34:51Z-
dc.date.issued2560-12-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79306-
dc.description.abstractThis study employs a historical approach to the "local politics" of the city of Sawankhalok from 1932 up to today. It aims to explain the political process not only from the role of politicians but from the ways ordinary people elect their leaders amid the socio-economic transformations of Sawankhalok. It argues that social and power relations in Sawankhalok has produced "big people" to facilitate the economic system of local production. When the state expands its power into the area, these "big people" have been drawn into state mechanisms, in which they act as a middleman between the state and the villagers. When the commercialization of production increase, together with decentralization of government, the role of the "big people" starts to decrease because the villagers in the new productive environment can build their own relations beyond the existing boundaries, without relying on the "big people"en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleประวัติศาสตร์การเมืองท้องถิ่น เมืองสวรรคโลก พ.ศ.๒๔๗๕-ปัจจุบันen_US
dc.title.alternativeHistory of local politics in Sawankhalok ,1932-presenten_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashการปกครองท้องถิ่น -- สวรรคโลก (สุโขทัย)-
thailis.controlvocab.thashสวรรคโลก (สุโขทัย) -- การเมืองและการปกครอง-
thailis.controlvocab.thashสวรรคโลก (สุโขทัย) -- ประวัติศาสตร์-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษานี้เป็นงานศึกษาทางด้านประวัติศาสตร์ที่มุ่งศึกษา "การเมืองท้องถิ่น" ของเมือง สวรรคโลก ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2475 จนถึงปัจจุบัน โดยอธิบายว่ากระบวนการทางการเมืองท้องถิ่น มิใช่ เกิดจากบทบาทของนักการเมืองแด่เพียงอย่างเดียว หากแต่เกิดขึ้นจากกระบวนการเลือกสรรผู้นำ ของชาวบ้านที่ดำเนินการท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมของเมืองสวรรคโลกเอง ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมชาวนาของสวรรคโลก ได้ทำให้ผู้คนในเมืองสวรรคโลกจัด ความสัมพันธ์ทางสังคมและความสัมพันธ์ทางอำนาจโดยสร้าง "คนโต" เพื่อทำให้ระบบการผลิต เป็นไปได้อย่างราบรื่นที่สุด เมื่ออำนาจรัฐขยายตัวเข้ามาในพื้นที่ "คนโต" ถูกดึงเข้ามาเป็นกลไกการ ปกครองของรัฐ โดยทำหน้าที่เป็นผู้ประสานระ หว่างรัฐกับความต้องการของชาวบ้าน ต่อมาเมื่อมีการขยายตัวของการผลิตเชิงพาณิชย์เข้มข้นมากขึ้นประกอบกับการกระจาย อำนาจจากรัฐส่วนกลาง จึงทำให้ "คนโต" เริ่มหมดบทบาทลง เพราะชาวบ้านในระบบการผลิตเชิง พาณิชย์สามารถสร้างความสัมพันธ์ใหม่ที่กว้างขวางกว่าเดิมจึงไม่จำเปีนต้องพึ่งพา "คนโต" เช่นเดิมen_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
570131009-ธีรญา ชาวนา.pdf5.38 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.