Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79235
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorKullapop Suttiat-
dc.contributor.advisorPimduen Rangsiyakull-
dc.contributor.advisorArpirak Hokpanna-
dc.contributor.authorYanin Rattanatigulen_US
dc.date.accessioned2023-12-03T03:24:13Z-
dc.date.available2023-12-03T03:24:13Z-
dc.date.issued2023-11-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79235-
dc.description.abstractObjective: The aim of this study was to investigate the air conditioner grille direction and the impact of portable air cleaner placement on air quality in dental treatment rooms using computational fluid dynamics (CFD). Research Methodology: This research utilized data from an actual dental treatment room at the Faculty of Dentistry, Chiang Mai University, to create a computational model. The study was divided into two main parts. The first part examined the effects of air conditioner grille directions, considering all six possible directions. The airflow patterns in the dental treatment room were analyzed accordingly. From the results of the first part, specific air conditioner grille directions were selected, resulting in suitable and unsuitable airflow patterns. These orientations were studied in combination with changes in the positions of the portable air cleaner, which had five possible positions within the dental treatment room. These positions included two at the rear, on the left and right sides of the dental chair, and three positions at the foot end of the dental chair, specifically, the center, left, and right positions. The airflow direction and aerosol distribution were analyzed using ANSYS Fluent software. Results: The study discovered that adjusting the direction of the air conditioner grille significantly influenced the airflow patterns in the dental treatment room. In adjusting the airflow direction of the air conditioner, certain directions resulted in unsuitable airflow patterns where air flowed past the patients before reaching the dentist. Conversely, some airflow directions of the air conditioner led to better airflow circulation, ensuring that air effectively passed through the dental treatment area before being expelled, creating a suitable and efficient airflow direction. In the second part of the study, two specific airflow directions, the straight central direction and the 45-degree downward direction, were selected based on the findings from the initial investigation. These directions were studied in conjunction with changes in the positions of the portable air cleaner. The study concluded that altering the position of the portable air cleaner significantly influenced its efficiency in removing particles within the dental treatment room. The optimal position for the portable air cleaner in a dental treatment room when the air conditioner directs the airflow straight or downward at a 45-degree angle is close to the treatment area and at the center towards the foot end of the dental chair, respectively. Conclusions: Good ventilation in the dental examination room begins with proper air circulation and the correct portable air cleaner placement. Installing the portable air cleaner in an appropriate position would significantly enhance the portable air cleaner's operation efficiency. Additionally, other factors such as room size, the positioning of air conditioning units, and air exhaust fans should also be considered to improve ventilation effectiveness and reduce particle dispersion during dental procedures.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleThe effects of portable air cleaner location on air quality in dental examination room by using computer fluid dynamic analysisen_US
dc.title.alternativeผลของตำแหน่งเครื่องฟอกอากาศต่อคุณภาพอากาศในห้องตรวจทันตกรรมโดยอาศัยแบบจำลองโปรแกรมคำนวณพลศาสตร์ของไหลen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshAir quality-
thailis.controlvocab.lcshAir quality management-
thailis.controlvocab.lcshVentilation-
thailis.controlvocab.lcshComputational fluid dynamics-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวัตถุประสงค์: ศึกษาทิศทางช่องลมของเครื่องปรับอากาศและวิเคราะห์ผลของตำแหน่งเครื่องฟอกอากาศต่อคุณภาพของอากาศในห้องตรวจทันตกรรมโดยอาศัยแบบจำลองคำนวณพลศาสตร์ของไหล วิธีการวิจัย: งานวิจัยนี้ทำการศึกษาจากแบบจำลองที่นำข้อมูลจริงจากห้องตรวจทันตกรรมของภาควิชาทันตกรรมประดิษฐ์ คณะทันตแพทย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ การศึกษานี้ถูกแบ่งเป็นสองส่วนหลัก ส่วนแรกได้ทำการศึกษาถึงผลกระทบของทิศทางช่องลมของเครื่องปรับอากาศโดยกำหนดทิศทางทั้งหมด 6 ทิศทางและวิเคราะห์ถึงผลการไหลเวียนอากาศในห้องตรวจทันตกรรม และจากผลการศึกษาในส่วนแรกจึงได้เลือกทิศทางช่องลมของเครื่องปรับอากาศที่ทำให้เกิดการไหลของอากาศที่เหมาะสมและไม่เหมาะสม มาทำการศึกษาต่อร่วมกับการเปลี่ยนตำแหน่งของเครื่องฟอกอากาศ 5 ตำแหน่งภายในห้องทันตกรรม ได้แก่ สองตำแหน่งที่ด้านหลังทางซ้ายและขวาของเก้าอี้ ทันตกรรมและสามตำแหน่งทางด้านปลายเท้าของเก้าอี้ทันตกรรม คือ ตรงกลาง ด้านซ้ายและด้านขวา จากนั้นวิเคราะห์ผลที่เกิดขึ้นโดยพิจารณาจากการเปลี่ยนแปลงของทิศทางการไหลเวียนอากาศและการกระจายของละอองลอยที่เกิดขึ้นภายในห้องตรวจทันตกรรมโดยอาศัยการคำนวณจากโปรแกรม ANSYS Fluent ผลการศึกษา: การเปลี่ยนแปลงของทิศทางช่องลมของเครื่องฟอกอากาศส่งผลต่อการไหลของอากาศในห้องตรวจทันตกรรมอย่างมีนัยสำคัญ ในการปรับช่องลมของเครื่องปรับอากาศบางทิศทางส่งผลให้อากาศไหลผ่านผู้ป่วยก่อนถึงทันตแพทย์เป็นทิศทางการไหลอากาศที่ไม่เหมาะสม ในขณะที่มีบางทิศทางช่องลมของเครื่องปรับอากาศทำให้เกิดการไหลเวียนของอากาศผ่านบริเวณที่มีการทำหัตถการทางทันตกรรมและถูกกำจัดออกไปก่อนที่จะถึงทันตแพทย์ แสดงให้เห็นทิศทางไหลเวียนอากาศที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพต่อการระบายอากาศ และการศึกษาส่วนที่สองเลือกสองทิศทางช่องลมของเครื่องปรับอากาศจากการศึกษาแรก ได้แก่ ทิศทางตรงกลางและทิศทางปรับลง 45 องศา มาใช้ศึกษาต่อร่วมกับการเปลี่ยนตำแหน่งของเครื่องฟอกอากาศ ผลการศึกษาในส่วนที่สองสรุปได้ว่าการเปลี่ยนตำแหน่งของเครื่องฟอกอากาศส่งผลต่อประสิทธิภาพในการกำจัดละอองลอยในห้องตรวจ ทันตกรรมอย่างมีนัยสำคัญ ตำแหน่งที่เหมาะสมของเครื่องฟอกอากาศในเมื่อช่องลมของเครื่องปรับอากาศอยู่ในทิศทางตรงกลางและทิศทางปรับลง 45 องศาคือ บริเวณที่ใกล้กับพื้นที่ทำหัตถการและบริเวณตรงกลางปลายเท้าของเก้าอี้ทันตกรรมตามลำดับ สรุปผลการศึกษา: คุณภาพของอากาศที่ดีในห้องตรวจทันตกรรม เริ่มจากการไหลเวียนอากาศที่ดีร่วมกับการจัดตำแหน่งของเครื่องฟอกอากาศที่ถูกต้อง หากติดตั้งเครื่องฟอกอากาศในตำแหน่งที่เหมาะสมจะยิ่งช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานของเครื่องฟอกอากาศให้ทำงานได้เต็มศักยภาพมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ปัจจัยอื่น ๆ ได้แก่ ขนาดของห้อง ตำแหน่งของเครื่องปรับอากาศและพัดลมระบายอากาศควรถูกพิจารณาร่วมด้วยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการระบายอากาศและลดการกระจายของละอองลอยระหว่างการทำหัตถการทางทันตกรรมen_US
Appears in Collections:DENT: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630931045-YANIN RATTANATIGUL.pdf3.11 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.