Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79206
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีรวรรณ ธีระพงษ์-
dc.contributor.authorกลัญญุ คชวัตen_US
dc.date.accessioned2023-11-17T10:05:37Z-
dc.date.available2023-11-17T10:05:37Z-
dc.date.issued2023-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79206-
dc.description.abstractThis study examined the effects of online group counseling based on acceptance and commitment therapy on resilience quotient among people with long covid-19. The purposes of this research were to study the following: (1) The effects of online group counseling on the resilience quotient of people with long covid-19; and (2) The members’ perspectives after participating in online group counseling. This is a quasi-experimental research, conducted with 20 participants through purposive sampling. The participants were divided into experimental and control groups, with 10 members per group. The experimental group received online group counseling based on acceptance and commitment therapy, and the control group was trained on the concept of acceptance and commitment. A pre-test and post-test were given as part of this study. Then, the experimental group was interviewed to examine their perspectives after participating in online group counseling. The main results were as follows: (1) The resilience quotient scores in the experimental group after the experiment had increased at a level of .05; (2) The post-test period of resilience quotient scores in the experimental group had a higher score than the control group at a level of .05 and The Effect Sizes showed that the program had practical significance on Resilience quotient (Cohen's d=1.0985). The conclusion of the analysis shows that online group counseling based on acceptance and commitment therapy can improve the experimental group resilience quotient score. Moreover, the perspective of the experimental group found consistency with the acceptance and commitment therapy concepts, such as being mindful of suffering thoughts, living in the present, accepting thoughts without judgment, and returning to a state of biopsychospiritual homeostasis.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของการปรึกษากลุ่มตามแนวคิดการบำบัดด้วยการยอมรับและการให้สัญญาในรูปแบบออนไลน์ ต่อการฟื้นฟูพลังใจในผู้ที่มีภาวะระยะยาวของโควิด-19en_US
dc.title.alternativeEffects of online group counseling based on acceptance and commitment therapy on resilience quotient among people with long covid-19en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashโควิด-19 (โรค)-
thailis.controlvocab.thashการบำบัดทางจิต-
thailis.controlvocab.thashจิตวิทยาการปรึกษา-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้ศึกษาผลของการปรึกษากลุ่มตามแนวคิดการบำบัดด้วยการยอมรับและการให้สัญญาในรูปแบบออนไลน์ต่อการฟื้นฟูพลังใจในผู้ที่มีภาวะระยะยาวของโควิด-19 โดยมีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาผลของการปรึกษากลุ่มในรูปแบบออนไลน์ต่อการฟื้นฟูพลังใจในผู้ที่มีภาวะระยะยาวของโควิด-19 และ (2) เพื่อศึกษามุมมองของผู้ที่มีภาวะระยะยาวของโควิด-19 กับการปรึกษากลุ่มในรูปแบบออนไลน์เพื่อเสริมสร้างการฟื้นฟูพลังใจ วิธีการวิจัยเป็นรูปแบบกึ่งทดลอง โดยมีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 20 คน ผ่านการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมกลุ่มละ 10 คน โดยกลุ่มทดลองจะได้รับการปรึกษากลุ่มตามแนวคิดการบำบัดด้วยการยอมรับและการให้สัญญาในรูปแบบออนไลน์ และกลุ่มควบคุมจะได้รับการอบรมแนวคิดการยอมรับและการให้สัญญา มีการวัดผลก่อนและหลังการทดลอง และสัมภาษณ์หลังการทดลองเพื่อศึกษามุมมองของกลุ่มทดลอง ผลการวิจัยพบว่า (1) คะแนนการฟื้นฟูพลังใจในกลุ่มทดลองระยะหลังการทดลองมีค่าสูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (2) คะแนนการฟื้นฟูพลังใจของกลุ่มทดลองมีค่าการฟื้นฟูพลังใจสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และค่าอิทธิพลแสดงให้เห็นว่าโปรแกรมมีผลต่อการฟื้นฟูพลังใจ (Cohen’s d=1.0985) เมื่อสรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพพบว่า การปรึกษากลุ่มตามแนวคิดการบำบัดด้วยการยอมรับและการให้สัญญาในรูปแบบออนไลน์ช่วยพัฒนาการฟื้นฟูพลังใจได้ รวมถึงมุมมองความคิดมีความสอดคล้องตามแนวคิดการบำบัด โดยกลุ่มทดลองเข้าใจอุปสรรคปัญหา ความคิดที่ก่อให้เกิดทุกข์ผ่านการมีสติ อยู่กับปัจจุบัน ยอมรับอย่างไม่ตัดสิน จนเห็นวิธีการแก้ปัญหา และมีความสามารถกลับคืนสู่ภาวะสมดุลทางชีวจิตen_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630132012_กลัญญุ_คชวัต.pdf3.99 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.