Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79200
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวรรษพร อารยะพันธ์-
dc.contributor.authorณัฐณิชาช์ โถดอกen_US
dc.date.accessioned2023-11-16T10:43:28Z-
dc.date.available2023-11-16T10:43:28Z-
dc.date.issued2018-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79200-
dc.description.abstractThe study on intellectual property of the National Museum in Thailand has the objectives to: 1) study the current status of intellectual property of the National Museum in Thailand; 2) To analyze and categorize the intellectual property of the National Museum in Thailand and 3) To offer the guidelines on how to categorize intellectual property of the National Museum in Thailand. By using mixed methods of research methodology as research tools. Collecting data in 2 major parts which were, 1) quantitative data, data were collected by a questionnaire. The sample group was the curator or officers from 43 locations of national museums that total 215 people, and the return of the questionnaire was 180, accounting for 83. 72 % and, 2) Qualitative data, data was collected by interview, using a structural interview. Conducting the interview was with the director of the fine arts department, 1 person from each area according to their area of responsibility, a total of 12 people, there were 10 informants who provided information in the interviews. Research results on the current status of intellectual property of the National Museum in Thailand. In the interviews of 10 respondents, 6 were male, 4 were female, 5 were graduated master's degree and, another 5 graduated with a bachelor degree. Most of the informants had knowledge about intellectual property. The classification of intellectual property. There were no national museums that had a clear classification of intellectual property. On the policies related to the intellectual property of the National Museum it was found that there was no direct written policy related to intellectual property.On the analysis and classification of intellectual property of the National Museum in Thailand. According to data analysis, the majority of respondents were female, 73.30%. 36.10% were academic staff. Graduated with a Bachelor's degree 78.30%. Have working experience between 1-5 years accounted for 42.80%, and those who have knowledge and understanding about intellectual property in museums rated at a medium level of 71.70 percent. After analysis of data, the types of intellectual property in the National Museum are classified into 2 types. (1) Copyright work in theamount of 55 items, and (2) Industrial property in the amount of 18 items. Problems related to intellectual property operations in the National Museum is Intellectual Property Protection (x̅ = 2.43), Secondary is promotion and creation of Intellectual Property (x̅ = 2.32), Policy implementation (x̅ = 2.30) and intellectual property awareness (x̅ = 2.25), respectively. Based on the synthesis of both research results, the proposed method of categorizing intellectual property of the National Museum in Thailand is as follows. 1) Categorization of Intellectual property in the National Museum should be divided into 2 categories, these include copyrighted work and industrial property. And, 2) Policies related to intellectual property in the National Museum should include: Intellectual Property Awareness Policy, Creative policy on intellectual property, Intellectual Property Ownership Policy, Intellectual Property Protection Policy, Intellectual property using policy, Commercial Use Policy, Intellectual Property Violation Policy, and Giving credit to creator policy.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleทรัพย์สินทางปัญญาของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติในประเทศไทยen_US
dc.title.alternativeIntellectual property of Thai National Museumen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashทรัพย์สินทางปัญญา-
thailis.controlvocab.thashพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ -- ไทย-
thailis.controlvocab.thashการวิเคราะห์เนื้อหา-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเรื่องทรัพย์สินทางปัญญาของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติในประเทศไทยมี วัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบันทรัพย์สินทางปัญญาของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติในประเทศ ไทย 2) วิเคราะห์และจัดกลุ่มทรัพย์สินทางปัญญาของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติในประเทศไทย และ 3) เสนอแนวทางในการจัดกลุ่มทรัพย์สินทางปัญญาของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติในประเทศไทย โดย ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods) เก็บรวบรวมข้อมูล 2 ส่วน คือ 1) ข้อมูลเชิงปริมาณ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างคือ ภัณฑารักษ์หรือเจ้าหน้าที่ของ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ 43 แห่ง จำนวน 215 คน ได้รับแบบสอบถามกลับคืนมา จำนวน 180 ชุด คิด เป็นร้อยละ 83.72 และ 2 ข้อมูลเชิงคุณภาพ เก็บรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์ โดยใช้แบบสัมภาษณ์ แบบมี โครงสร้างสำหรับผู้อำนวยการสำนักศิลปากรตามเขตพื้นที่รับผิดชอบ 12 แห่ง แห่งละ 1 คน รวม 12 คน มีผู้ให้ข้อมูล จำนวน 10 คน ผลการวิจัยด้านสภาพปัจจุบันของทรัพย์สินทางปัญญาของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติใน ประเทศไทย จากการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูล จำนวน 10 คน พบว่า เป็นเพศชาย จำนวน 6 คน เพศหญิง 4 คน สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท จำนวน 5 คน และระดับปริญญาตรี : คน ผู้ให้ข้อมูลส่วนใหญ่มี ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา ด้านการแบ่งประเภททรัพย์สินทางปัญญา พบว่ายังไม่ มีพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติที่มีการแบ่งประเภททรัพย์สินทางปัญญาอย่างชัดเจน ส่วนนโยบายที่ เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินทางปัญญาของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พบว่า ยังไม่มีนโยบายที่เกี่ยวข้องกับ ทรัพย์สินทางปัญญาโดยตรงและเป็นลายลักษณ์อักษรด้านการวิเคราะห์และจัดกลุ่มทรัพย์สินทางปัญญาของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติในประเทศ ไทย จากการวิเคราะห์ข้อมูลจากผู้ตอบแบบสอบถาม พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศ หญิง ร้อยละ 73.30 สังกัดฝ่ายงานด้านวิชาการ ร้อยละ 36.10 สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี ร้อยละ 7830 มีประสบการณ์การทำงานระหว่าง 1-5 ปี ร้อยละ 42.80 และมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ทรัพย์สินทางปัญญาในพิพิธภัณฑ์ในระดับปานกลาง ร้อยละ 71.70 เมื่อวิเคราะห์ประเภททรัพย์สิน ทางปัญญาในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ (1) งานอันมีลิขสิทธิ์ (Copyright)จำนวน 55 รายการ และ (2) ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม จำนวน 18 รายการ ปัญหาด้านการดำเนินงาน ด้านทรัพย์สินทางปัญญาในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ คือ ด้านการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา (X - 2.43) รองลงมาคือ ด้านการดำเนินงานส่งเสริมการสร้างสรรค์ทรัพย์สินทางปัญญา (X- 2.32) ด้าน การดำเนินงานด้านนโยบาย (X - 2.30) และด้านการสร้างความตระหนักรู้ด้านทรัพย์สินทางปัญญา (X = 2.25) ตามลำดับ จากการสังเคราะห์ผลการวิจัยทั้ง 2 ส่วน สามารถนำเสนอแนวทางในการจัดกลุ่มทรัพย์สิน ทางปัญญาของพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติในประเทศไทย ดังนี้ 1) การจัดกลุ่มทรัพย์สินทางปัญญาใน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติควรแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ งานอันมีลิชสิทธิ์ และทรัพย์สินทาง อุตสาหกรรม และ 2) ด้านนโยบายที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินทางปัญญาในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติควร ประกอบด้วย นโยบายการตระหนักรู้เกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา นโยบายการสร้างสรรค์ทรัพย์สิน ทางปัญญา นโยบายการเป็นเจ้าของทรัพย์สินทางปัญญา นโยบายการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญา นโยบายการใช้ทรัพย์สินทางปัญญา นโยบายการนำไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ นโยบายการ ละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา และนโยบายการให้เครดิตen_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580132061-ณัฐณิชาช์ โถดอก.pdf4 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.