Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79199
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเกียรติคุณ สายชล สัตยานุรักษ์-
dc.contributor.advisorอรรถจักร์ สัตยานุรักษ์-
dc.contributor.advisorเกรียงศักดิ์ เชษฐพัฒนวนิช-
dc.contributor.authorณัฏฐพงษ์ สกุลเลี่ยวen_US
dc.date.accessioned2023-11-16T10:31:40Z-
dc.date.available2023-11-16T10:31:40Z-
dc.date.issued2018-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79199-
dc.description.abstractEconomic changes in the early Bangkok turned northern region into a significant inland trade crossroadwith a high volume of traveling and trading involving people from all walks of life such as Thai, Chinese, and foreign merchants and colonial subjects. These people interacted complexly in this new commercial space. However, lawsuits and conflicts arisen from these new interactions expanded greatly in term of number until the local traditional mechanism of Sakdina system could not function effectively in solving the conflicts. As the local governors and officials unjustly abused their powers by oppressing and exploiting the common merchants, it led to economic and social turbulence. Merchants then appealed to the Bangkok court to intervene in their disputes with expectation that the power of Siamese court could be used to negotiate with those local governors and officials. Nevertheless, the movement of the ordinary people had not only increased the consolidation and domination of the Siamese court’s power over the northern region, but also facilitated the creation of modern Siamese state by using written standardized legal system as a means. Therefore, this process, to a certain extent, helped forming the Siamese absolute monarchy.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleสามัญชนในหัวเมืองฝ่ายเหนือกับการก่อตัวของรัฐสมัยใหม่ สยาม พ.ศ. 2400-2450en_US
dc.title.alternativeCommoners in northern principalities and the formation of modern Thai state, 1857-1907en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashไทย -- ประวัติศาสตร์ -- กรุงรัตนโกสินทร์ -- รัชกาลที่ 4, 2394-2411-
thailis.controlvocab.thashไทย -- ประวัติศาสตร์ -- กรุงรัตนโกสินทร์ -- รัชกาลที่ 5, 2411-2453-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจในช่วงต้นรัตนโกสินทร์ทำให้หัวเมืองฝ่ายเหนือกลายเป็นพื้นที่ชุม ทางการค้าตอนในอันเต็มไปด้วยการเดินทางค้าขายของผู้คนหลากหลายกลุ่ม ไม่ว่าจะเป็นพ่อค้า สามัญชนชาวไทยและจีน เจ้าภาษีนายอากร พ่อค้าชาวต่างชาติและคนในบังคับต่างชาติ ผู้คนทั้งหลาย เหล่านี้ปฏิสัมพันธ์กันอย่างซับซ้อนในพื้นที่ทางการค้า คดีความและความขัดแย้งต่างๆ อันเกิดจาก ปฏิสัมพันธ์ใหม่ๆ ดังกล่าวได้ขยายตัวมากขึ้นเสียจนกลไกการปกครองท้องถิ่นในระบบศักดินาไม่ สามารถควบคุมจัดการ ได้ เนื่องจากเจ้าเมืองและกรมการเมืองต่างก็ใช้อำนาจและอิทธิพลของตนเอง กดขี่ขูดรีดบรรดาพ่อค้าสามัญชนอย่างไม่เป็นธรรม ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและสังคมจึงอยู่ใน ภาวะปั่นป่วนจนทำให้พ่อค้าสามัญชนจำนวนมากเลือกที่จะเดินทางลงไปร้องเรียนต่อราชสำนัก สยาม เพื่อใช้อำนาจของราชสำนักสยามเป็นเครื่องมือในการต่อรองกับเจ้าเมืองและกรมการเมือง ท้องถิ่น การเคลื่อนไหวของสามัญชนดังกล่าวส่งผลทำให้ราชสำนักสยามสามารถขยายอำนาจเข้ามา ควบคุมหัวเมืองฝ่ายเหนือได้มากขึ้นและกลายเป็นรากฐานของการสร้างรัฐสมัยใหม่ อันมีระบบ กฎหมายที่เป็นลายลักษณ์อักษรและมีมาตรฐานเป็นระเบียบมากยิ่งขึ้น จนพัฒนาเป็นระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชย์ในที่สุดen_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
550151002-ณัฏฐพงษ์ สกุลเลี่ยว.pdf9.7 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.