Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79198
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิไลลักษณ์ สาหร่ายทอง-
dc.contributor.authorฐิติญาดา ลี้วิเศษen_US
dc.date.accessioned2023-11-16T10:17:37Z-
dc.date.available2023-11-16T10:17:37Z-
dc.date.issued2018-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79198-
dc.description.abstractThis thesis aims to analyze social construction of signs through the use of costumes of characters in six Thai television drama series shown on Channel 3 in 2015, including Kaewtawaanjai, Huajaipatapee, Phukongyodrak, Nangsaothongsoi, Tamrakkheunjai, and Plubpleungseechompoo. Based on semiotics theory by Ferdinand de Saussure, this study reveals that different costumes chosen by different characters are indicative of four social statuses identifiable in Thai society: 1) the urban millionaire 2) the rural millionaire 3) the middle class, and 4) the laborer. Moreover, four minor social statuses cloud also be identified including laborer of high class, laborer of urban millionaire, laborer of middle class and laborer in rural provinces. These social statuses are found to correspond to how he/she is dressed. The study also shows that the choice of costumes is determined by various factors including occupation, gender, age, and social class. Among these, social class and occupation of the character are the most significant factors. Characters of the high social class, who have high income are often clad in expensive, luxurious items, whereas characters belonging to the middle class and the working class and who have lower income are presented in simple and inexpensive outfits which are practical for their daily work. Given such social classes and income-based costuming, it is worth nothing that the display of costumes in television drama series is merely a myth, among others, which signifies a consumerist character of the Thai society, which usually finds comfort in stereotyping. Realistically, a mere use of costumes cannot entirely represent the social status of a person.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการสร้างสัญญะทางสังคมผ่านเครื่องแต่งกายที่ปรากฏในละครโทรทัศน์ไทยen_US
dc.title.alternativeSocial signs construction through costume in Thai television dramaen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashเครื่องแต่งกายละคร-
thailis.controlvocab.thashละครโทรทัศน์-
thailis.controlvocab.thashตัวละครและลักษณะนิสัยในโทรทัศน์-
thailis.controlvocab.thashสถานภาพทางสังคม-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์นี้มุ่งศึกษาวิเคราะห์การสร้างสัญญะทางสังคมผ่านเครื่องแต่งกายของ นักแสดง และวิเคราะห์การให้ความหมายของสัญญะผ่านเครื่องแต่งกายในแต่ละบทบาทตัวละครที่ ปรากฎในละครโทรทัศน์ไทย ตามกรอบคิดทฤษฎีสัญวิทยาของเฟอร์ดินานด์ เดอ โซซูร์ (Ferdinand de Saussure) ตามแนวทางของวัฒนธรรมศึกษา โดยเลือกศึกษาละครที่ออกอากาศผ่านทางสถานี โทรทัศน์ ไทยช่อง 3 ในช่วง พ.ศ. 2558 จำนวน 6 เรื่องคือ แก้วตาหวานใจ หัวใจปฐพี ผู้กองยอดรัก นางสาวทอง สร้อย ตามรักคืนใจ และพลับพลึงสีชมพู โดยการจำแนกสถานภาพทางสังคมของตัวละครซึ่งสามารถ จำแนกได้ทั้งหมด 4 สถานภาพ ได้แก่ 1) คนรวยสังคมเมือง 2) คนรวยสังคมชนบท 3) ชนชั้นกลาง 4) ชนชั้นแรงงาน ในสถานภาพหลักทั้ง 4 นี้ พบสถานภาพรองที่ประกอบอยู่อีก 4 สถานภาพคือ ชน ชั้นสูง แรงงานของชนชั้นสูง แรงงานของคนรวยสังคมเมือง แรงงานในสังคมเมือง และแรงงานชนบท ซึ่งสถานภาพของตัวละครดังกล่าวเป็นปัจจัยที่ทำให้ตัวละครแต่งกายแตกต่างกัน ผลการศึกษาพบว่า ละครโทรทัศน์ได้กำหนดเครื่องแต่งกายให้ตัวละครผ่านบทละคร ที่จำแนกสถานภาพทางสังคมของตัวละคร โดยมีปัจจัยด้าน อาชีพ เพศ วัย สถานะทางเศรษฐกิจ เป็น ตัวกำหนดรูปแบบเครื่องแต่งกาย โดยตัวละครที่มีสถานภาพทางสังคมที่จัดอยู่ในระดับสูง จะมี องค์ประกอบเครื่องแต่งกายด้วยสินค้าราคาแพง นอกจากนี้ อาชีพของตัวละครก็เป็นปัจจัยหลักเช่นกัน กล่าวคือ อาชีพที่มีรายได้สูง ข่อมมีโอกาสในการครอบครองหรือเข้าถึงสินค้าราคาแพง ในขณะที่ขนชั้น กลาง และชนชั้นแรงงาน ซึ่งมีรายได้ต่ำกว่า มักถูกนำเสนอให้มีเครื่องแต่งกายที่เรียบง่าย ราคาไม่แพง และเหมาะกับการใช้งานในชีวิตประจำวัน อย่างไรก็ตาม เครื่องแต่งกายที่ถ่ายทอดผ่านละคร โทรทัศน์ นั้น เป็นเพียงสัญญะที่สะท้อนมายาคติสังคมบริโภคนิยมของไทย ที่สะดวกใจกับการเหมารวม ซึ่งใน ความเป็นจริงแล้ว เครื่องแต่งกายไม่สามรถบ่งบอกความหมายทางสถานภาพทางสังคมของบุคคลได้ ทั้งหมดอย่างแท้จริงen_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
570131001-ฐิติญาดา ลี้วิเศษ.pdf13.84 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.