Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79196
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชูชัย สมิทธิไกร-
dc.contributor.authorจีราพร สุวรรณเดชen_US
dc.date.accessioned2023-11-16T10:00:44Z-
dc.date.available2023-11-16T10:00:44Z-
dc.date.issued2018-07-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79196-
dc.description.abstractThe objectives of this study were (1) to investigate the influences of conscientiousness, perceived authentic leadership, and organizational trust on organizational citizenship behavior and proactive work behavior, (2) to investigate the influences of organization commitment on organizational citizenship behavior and proactive work behavior, and (3) to examine the mediating role of organization commitment in the relationships among conscientiousness, perceived authentic leadership, organizational trust,organizational citizenship behavior, and proactive work behavior. The sample was comprised of 375 persons working at Chiang Mai University. The research instruments consisted of a demographic information, conscientiousness scale, perceived authentic leadership scale, organizational trust scale, organizational citizenship behavior scale and proactive work behavior scale. Data were analyzed by using descriptive statistics, correlational analysis, confirmatory factor analysis, and structural equation modeling. The results were as follows: 1. Conscientiousness has a significant direct effect on organizational commitment (β= .2 8, p< .001) and proactive work behavior (β=.19, p< .001). 2. Perceived authentic leadership has a significant direct effect on organizational commitment (β=.42, p< .001) and proactive work behavior (β=.32, p< .001).3. Organizational trust has a significant direct effect on organizational commitment (β= .30, p< .001). 4. Organizational commitment has a significant direct effect on organizational citizenship behavior (β= .27, p< .01) and proactive work behavior (β=.36, p< .01). 5. Organizational commitment fully mediated the effect of conscientiousness on organizational citizenship behavior and partially mediated the effect of conscientiousness on proactive work behavior. 6. Organizational commitment fully mediated the effect of perceived authentic leadership on organizational citizenship behavior and partially mediated the effect of perceived authentic leadership on proactive work behavior. 7. Organizational commitment fully mediated the effect of organizational trust on organizational citizenship behavior and proactive work behavior.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การและพฤติกรรมการทำงานเชิงรุกของบุคลากรมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ : บทบาทการเป็นตัวแปรสื่อของความผูกพันต่อองค์การen_US
dc.title.alternativeFactors influencing organizational citizenship behavior and proactive work behavior of Chiang Mai University personnels : mediating role of organizational commitmenten_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ -- พนักงาน-
thailis.controlvocab.thashความผูกพันต่อองค์การ-
thailis.controlvocab.thashภาวะผู้นำ-
thailis.controlvocab.thashจิตวิทยาอุตสาหกรรม-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาอิทธิพลของบุคลิกภาพด้านความสำนึกผิดชอบ การ รับรู้ภาวะผู้นำที่แท้จริง และความไว้วางใจในองค์การที่มีต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีของ องค์การและพฤติกรรมการทำงานเชิงรุก (2) ศึกษาอิทธิพลของความผูกพันต่อองค์การที่มีต่อ พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การและพฤติกรรมการทำงานเชิงรุก และ (3) ศึกษาบทบาทการ เป็นตัวแปรสื่อของความผูกพันต่อองค์การในความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพด้านความสำนึกผิดชอบ การรับรู้ภาวะผู้นำที่แท้จริง ความไว้วางใจในองค์การกับพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ และพฤติกรรมการทำงานเชิงรุก กลุ่มตัวอย่างในการวิจัย คือ บุคลากรมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ จำนวน 375 คน เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบวัดบุคลิกภาพความสำนึกผิดชอบ แบบวัด การรับรู้ภาวะผู้นำที่แท้จริง แบบวัดความไว้วางใจในองค์การ แบบวัดความผูกพันต่อองค์การ แบบวัด พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ และแบบวัดพฤติกรรมการทำงานเชิงรุก สถิติที่ใช้ในการ วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และการวิเคราะห์แบบจำลองเชิงโครงสร้าง ผลการวิจัยพบว่า 1. บุคลิกภาพด้านความสำนึกผิดชอบมีอิทธิพลทางตรงต่อความผูกพันต่อองค์การ (B= .28, P< .00 1) และพฤติกรรมการทำงานเชิงรุกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (B=.19, p< .001) 2. การรับรู้ภาวะผู้นำที่แท้จริงมีอิทธิพลทางตรงต่อความผูกพันต่อองค์การ (B= .42, p<.001) และพฤติกรรมการทำงานเชิงรุกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (B = .32, p< .001) 3. ความไว้วางใจในองค์การมีอิทธิพลทางตรงต่อความผูกพันต่อองค์การอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติ (B= .30,p<.001) 4. ความผูกพันต่อองค์การมีอิทธิพลทางตรงต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ (B= .27, p< .01)และพฤติกรรมการทำงานเชิงรุกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (B-.36, p<.01) 5. ความผูกพันต่อองค์การมีบทบาทเป็นตัวแปรสื่อแบบสมบูรณ์ในความสัมพันธ์ระหว่าง บุคลิกภาพด้านความสำนึกผิดชอบกับพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การและมีบทบาทเป็นตัว แปรสื่อแบบบางส่วนในความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพด้านความสำนึกผิดชอบกับพฤติกรรมการ ทำงานเชิงรุก 6. ความผูกพันต่อองค์การมีบทบาทเป็นตัวแปรสื่อแบบสมบูรณ์ในความสัมพันธ์ระหว่างการ รับรู้ภาวะผู้นำที่แท้จริงกับพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การ และมีบทบาทเป็นตัวแปรสื่อ แบบบางส่วนในความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้กาวะผู้นำที่แท้จริงกับพฤติกรรมการทำงานเชิงรุก 7. ความผูกพันต่อองค์การมีบทบาทเป็นตัวแปรสื่อแบบสมบูรณ์ในความสัมพันธ์ระหว่างความ ไว้วางใจในองค์การกับพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การและพฤติกรรมการทำงานเชิงรุกen_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
580132049-จีราพร สุวรรณเดช.pdf2.34 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.