Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79146
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเยาวลักษณ์ จันทร์บาง-
dc.contributor.advisorณัฏฐวัฒณ์ หมื่นมาณี-
dc.contributor.authorอภิชญา จากโคกสูงen_US
dc.date.accessioned2023-11-07T01:33:52Z-
dc.date.available2023-11-07T01:33:52Z-
dc.date.issued2566-08-18-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79146-
dc.description.abstractThe efficacy of Radio Frequency Generator Prototype for Small and Medium Enterprises (RF) was tested for the control of maize weevil, Sitophilus zeamais attacking in 1 kilogram of 70% mixed rice (70% Hom Mali rice: 30% white rice) in polyethylene (PE) bags (100 µm thickness) by applying 27.12 MHz radio frequency with electric power of 370, and 380 volts for 3 minutes. The result showed that adult maize weevil was the most tolerant stage to the RF heat treatment comparing among egg, larval and pupal stages. Maize weevil which its egg was found inside rice kernel when they were in rice bag and exposed to RF at 380 volts for 3 minutes. The result showed that egg was not able to hatch and showed 100% mortality. For the egg of sawtoothed grain beetle, Oryzaephilus surinamensis which easily infested in packaged rice, the RF electric power of 370 and 380 volts for the 3-minute exposure also caused completely 100% mortality. The effect of types of packageing PE bags and polypropylene (PP) bags (75 µm thickness) on the mortality of maize weevil was examined. The results showed mortality of maize weevil exposed to 380 volts for 3 minutes of RF treatment in those types of packaging were not significant difference in mortalily.The temperatures of rice kept in PP bags when exposed to RF at 370, 380, 390 and 400 volts were 76.74±14.96, 78.09±12.45, 86.15±6.90, and 86.44±7.18 degree Celcius, respectively. It was higher than in the PE bags with the temperature which showed as 64.82±3.44, 65.14 ±3.18,69.11±3.31, and 69.02±3.64 degree Celcius, respectively. Moisture content of 70% mixed rice (70% Hom Mali rice: 30% white rice) showed slightly changed, however it was about 11% . The RF treatment also performed on 100% Hom Mail rice to control maize weevil. The electric powers of 380 volts and exposure time at 3 and 4 minutes were applied to 100% Hom Mail rice. The completely control of maize weevil which infested in 100% Hom Mail rice was found using the RF heat treatment for 4 minutes with the electric power of 380 volts, while the heat treatment for 3 minutes caused 99.50±1.05, and 99.40±1.26% insect mortality in PE and PP, respectively. Rice temperature of 100% Hom Mail rice in PE rice bag (71.28±4.28◦C) was lower than in PP bag (78.31±6.60◦C) when treated with RF at 380 volts for 4 minutes. Moisture contents of 100% Hom Mali rice at before and after the RF treatment were slightly changed in the range of 9-10% but there were not significantly different (P>0.05). Rice quality assessment revealed that amylose content , rice cracking, whiteness and viscosity of the starch compared to control were slightly changed.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectด้วงงวงข้าวโพดen_US
dc.subjectมอดฟันเลื่อยen_US
dc.subjectคลื่นความถี่วิทยุen_US
dc.subjectข้าวสารหอมมะลิen_US
dc.subjectpolyethylene and polypropylene bagsen_US
dc.titleการควบคุมด้วงงวงข้าวโพด (Sitophilus zeamais) และมอดฟันเลื่อย (Oryzaephilus surinamensis) ด้วยเครื่องกำเนิดคลื่นความถี่วิทยุต้นแบบระดับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมen_US
dc.title.alternativeControlling of maize weevil (Sitophilus zeamais) and Sawtoothed grain beetle (Oryzaephilus surinamensis) by using radio frequency generator prototype for small and medium enterprisesen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashด้วง-
thailis.controlvocab.thashมอด-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractประสิทธิภาพของเครื่องกำเนิดคลื่นความถี่วิทยุต้นแบบระดับวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (RF) ในการควบคุมด้วงงวงข้าวโพด (Sitophilus zeamais) ในข้าวสารหอมมะลิผสมบรรจุถุง polyethylene (PE) หนา 100 ไมครอน ขนาด 1 กิโลกรัม โดยเครื่อง RF ที่ความถี่ 27.12 MHz ที่แรงดันไฟ 370 และ 380 โวลต์ เป็นเวลา 3 นาที พบว่าระยะตัวเต็มวัยของด้วงงวงข้าวโพดเป็นระยะที่ทนทานต่อคลื่นความถี่วิทยุ และเมื่อทดสอบกับระยะไข่ด้วงงวงข้าวโพด ซึ่งมักจะเป็นระยะที่ติดไปกับเมล็ดข้าวสารในถุงบรรจุข้าวสารถุง พบว่าไข่ที่ติดไปกับข้าวสารฝ่อของไข่อย่างสมบูรณ์ (100 เปอร์เซ็นต์) เมื่อรับคลื่นความถี่วิทยุที่ระดับแรงดันไฟ 380 โวลต์ เป็นเวลา 3 นาที ในขณะมอดฟันเลื่อย (Oryzaephilus surinamensis) ซึ่งเป็นแมลงศัตรูข้าวสารอีกชนิดหนึ่งที่มักพบว่าระยะไข่ ติดปนเปื้อนไปกับข้าวสารถุง โดยไข่อยู่ภายนอกเมล็ด เมื่อข้าวสารที่มีไข่มอดฟันเลื่อยปนเปื้อนเมื่อได้รับคลื่นความถี่วิทยุที่แรงดันไฟ 370 และ 380 โวลต์ เป็นเวลา 3 นาที พบว่าไข่ฝ่อ หรือตายอย่างสมบูรณ์ (100 เปอร์เซ็นต์) การศึกษาประสิทธิภาพของเครื่อง RF ในการกำจัดแมลงในข้าวสารที่บรรจุภัณฑ์ถุง PE และ ถุง polypropylene (PP) หนา 75 ไมครอน พบว่า การตายของด้วงงวงข้าวโพด ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05)โดยอุณหภูมิถุงข้าวสารบรรจุถุง PP ที่ได้รับคลื่นความถี่วิทยุ เป็นระยะเวลา 3 นาที ด้วยแรงดันไฟ 370, 380, 390 และ 400 โวลต์ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 76.74±14.96, 78.09±12.45, 86.15±6.90, 86.44±7.18 องศาเซลเซียส มีแนวโน้มสูงกว่าอุณหภูมิภายในถุงข้าวสารบรรจุถุง PE มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 64.82±3.44, 65.14 ±3.18, 69.11±3.31, 69.02±3.64 องศาเซลเซียส ตามลำดับ เมื่อประเมินคุณภาพข้าวสาร พบว่าความชื้นของข้าวสารหอมมะลิผสม 70 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งมีการผสมระหว่างข้าวหอมมะลิ:ข้าวขาว (70:30) ความชื้นข้าวสารผสมอยู่ในช่วง 11 เปอร์เซ็นต์ กรณีทดสอบการป้องกันกำจัดแมลงในข้าวหอมมะลิ 100 เปอร์เซ็นต์ได้เลือกทดสอบกับด้วงงวงข้าวโพดระยะตัวเต็มวัยซึ่งเป็นระยะที่ทนทานต่อคลื่นความถี่วิทยุ และมีระดับการป้องกันกำจัดที่ใช้อุณหภูมิสูงกว่าการป้องกันกำจัดมอดฟันเลื่อย โดยทำการศึกษาการใช้เครื่อง RF ที่แรงดันไฟ 380 โวลต์ พบว่า อัตราการควบคุมด้วงงวงข้าวโพดให้ตายอย่างสมบูรณ์ (100 เปอร์เซ็นต์) ใช้ระยะเวลาเพิ่มขึ้นเป็น 4 นาที ในขณะที่กรรมวิธีที่ได้รับคลื่นความถี่วิทยุ เป็นระยะเวลา 3 นาที เปอร์เซ็นต์การควบคุมอยู่ในช่วง 99.50±1.05, 99.40±1.26 เปอร์เซ็นต์ ในถุงชนิด ถุง PE และถุง PP ตามลำดับ โดยมีระดับอุณหภูมิเฉลี่ยในถุง PE (71.28±4.28◦C) ต่ำกว่าในถุง PP (78.31±6.60◦C) โดยเปอร์เซ็นต์ โดยเปอร์เซ็นต์ความชื้นของข้าวหอมมะลิ 100 เปอร์เซ็นต์ ก่อนและหลังการได้รับคลื่นความถี่วิทยุ ไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (P>0.05) ปริมาณอะไมโลส การแตกร้าวของเมล็ด ความขาวของข้าวสาร และความหนืดของน้ำแป้ง เปรียบเทียบกับข้าวสารบรรจุถุงที่ไม่ผ่านเครื่อง RF ผลของคุณภาพข้าวดังกล่าวการเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยen_US
Appears in Collections:AGRI: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630831022-อภิชญา จากโคกสูง.pdf1.58 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.