Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79066
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชูชัย สมิทธิไกร-
dc.contributor.authorมณฑนี สุวรรณทวีโชคen_US
dc.date.accessioned2023-10-16T00:47:13Z-
dc.date.available2023-10-16T00:47:13Z-
dc.date.issued2016-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79066-
dc.description.abstractThe objectives of this study were (1) to investigate relationships among positive orientation, entrepreneurial orientation, social network, and business success of small and medium entrepreneurs in Chiang Mai Province. (2) to examine predicting powers of positive orientation, entrepreneurial orientation, and social network on business success of small and medium entrepreneurs in Chiang Mai Province. The sample comprised of 405 entrepreneurs who have at least three years of business experiences, and hire less than 200 employees. The research instruments were a personal data questionnaire, entrepreneurs’ success scale, a positive orientation scale, an entrepreneurial orientation scale, and a social network scale. The statistics used in data analysis were descriptive statistics, Pearson’s correlation coefficient and multiple regression analysis. The results of this study are as follows : 1. Positive orientation was positively correlated with entrepreneurial success (r =.65, p<.01) 2. Entrepreneurial orientation was positively correlated with entrepreneurial success (r = .53, p<.01) 3. Both strong and weak ties of social network were positively correlated with entrepreneurial success (r = .35, .27 p<.01) 4. Positive orientation, entrepreneurial orientation, strong ties of social network jointly predicted entrepreneurial success (β = .484, .202, .155, p<.01) The there variables accounted for 39.50% of the variance in entrepreneurial success. Nonetheless, weak ties of social network could not predict entrepreneurial success.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleปัจจัยพยากรณ์ความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeFactors predicting business success of small and medium entrepreneurs in Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashธุรกิจขนาดย่อม -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashธุรกิจขนาดกลาง -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashผู้ประกอบการ -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashการจัดการธุรกิจ -- เชียงใหม่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ในการศึกษา คือ (1) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแนวโน้มเอียงทางบวก แนวโน้มเอียงการเป็นผู้ประกอบการ เครือข่ายทางสังคม และความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในจังหวัดเชียงใหม่ (2) เพื่อศึกษาอำนาจพยากรณ์ของแนวโน้มเอียงทางบวก แนวโน้มเอียงการเป็นผู้ประกอบการ และเครือข่ายทางสังคม ที่มีต่อความสำเร็จของผู้ประกอบการ โดยกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษามีจำนวน 405 คน เป็นผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ที่มีการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 3 ปีมีพนักงานไม่เกิน 200 คน และมีการดำเนินกิจการอยู่ในพื้นที่จังหวัดเชียงใหม่ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย แบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคล แบบวัดความ สำเร็จในการดำเนินธุรกิจของผู้ประกอบการ แบบวัดเนวโน้มเอียงทางบวก แบบวัดเนวโน้มเอียงการเป็นผู้ประกอบการและแบบวัดเครือข่ายทางสังคม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติบรรยาย วิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบเพีชร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคุณ ผลการวิจัยพบว่า 1. แนวโน้มเอียงทางบวกมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจของผู้ประกอบการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .65, p<.01) 2. แนวโน้มเอียงการเป็นผู้ประกอบการมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจของผู้ประกอบการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r = .53, p<.01) 3. เครือข่ายทางสังคมแบบเหนียวแน่นและเครือข่ายทางสังคมแบบผิวเผินมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจของผู้ประกอบการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=.35,27,p<.01) 4. แนวโน้มเอียงทางบวก แนวโน้มเอียงการเป็นผู้ประกอบการ และเครือข่ายทางสังคมแบบเหนียวแน่น มีอำนาจร่วมกันพยากรณ์ความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจของผู้ประกอบการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (β = .484 .202, .155, p<.01) ตามลำดับ โดยสามารถอธิบายความผันแปรได้ร้อยละ 39.50 แต่เครือข่ายทางสังคมแบบผิวเผินไม่สามารถพยากรณ์ความสำเร็จในการดำเนินธุรกิจของผู้ประกอบการได้en_US
Appears in Collections:HUMAN: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
570132015-มณฑนี สุวรรณทวีโชค.pdf4.13 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.