Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79016
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอรอนงค์ วิชัยคำ-
dc.contributor.advisorกุลวดี อภิชาติบุตร-
dc.contributor.authorนันทวัน มงคลเวสen_US
dc.date.accessioned2023-10-11T10:59:15Z-
dc.date.available2023-10-11T10:59:15Z-
dc.date.issued2566-04-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/79016-
dc.description.abstractABSTRACT Work values are crucial for helping organizations characterize productive work. This descriptive comparative study aimed to study the level and compare the work values of Generation Y and Generation X registered nurses at Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital. The sample consisted of 368 registered nurses from both generations working under the nursing division at Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospital. The research instrument is the Work Values Measurement Form with a reliability is .908. Data were analyzed using descriptive statistics and 2-group means test statistics, Mann-Whitney U test. The results revealed that the work values of Generation X nurses demonstrated importance at a high level, namely, 1) the stimulus aspect and 2) the power aspect, and the values at work that had importance at a medium level were 1) self-direction, 2) conformity, 3) tradition, 4) achievement, 5) universalism, 6) safety, 7) hedonism, and 8) benevolence. On the other hand, Generation Y nurses demonstrated importance to work values at a high level, namely 1) power, 2) tradition, 3) stimulation, and 4) conformity. The work values that were given moderate importance were 1) security, 2) achievement, 3) self-direction, 4) universalism, 5) benevolence, and 6) hedonism. It was also found that Generation X nurses had statistically significantly lower work values in conformity and values in tradition work than those of Generation Y nurses (p < 0.05) for the value of working in universalism, self-direction, stimulation, benevolence, and the hedonism aspect was significantly higher than Generation Y nurses (p < 0.05). The study findings can be used as information for planning the development of staff in each generation to achieve success in their work.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectค่านิยมในการทำงานen_US
dc.subjectพยาบาลen_US
dc.subjectรุ่นอายุen_US
dc.titleค่านิยมในการทำงานของพยาบาลสองรุ่นอายุ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeWork values of two generations of nurses, Maharaj Nakorn Chiang Mai Hospitalen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashค่านิยมทางอาชีพ-
thailis.controlvocab.thashค่านิยม-
thailis.controlvocab.thashพยาบาล -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashเจนเนอเรชันเอ็กซ์-
thailis.controlvocab.thashเจนเนอเรชันวาย-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractบทคัดย่อ ค่านิยมในการทำงานมีความสำคัญอย่างยิ่งที่จะช่วยให้องค์การสามารถกำหนดลักษณะงานที่มีประสิทธิผล การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบพรรณนาเชิงเปรียบเทียบมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับและเปรียบเทียบค่านิยมในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพเจนเนอเรชั่นวาย และเจนเนอเรชั่นเอ็กซ์ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานสังกัดฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ ทั้งสองเจนเนอเรชั่นจำนวน 368 คน เครื่องมือที่ใช้คือแบบวัดเกี่ยวกับค่านิยมในการทำงาน ซึ่งมีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .908 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและสถิติทดสอบค่าเฉลี่ย 2 กลุ่ม Mann - Whitney U test ผลการศึกษาพบว่า ค่านิยมในการทำงานของพยาบาลเจนเนอเรชั่นเอ็กซ์ให้ความสำคัญระดับมากคือ 1) ด้านสิ่งเร้า 2) ด้านอำนาจ ค่านิยมในการทำงานที่ให้ความสำคัญในระดับปานกลางคือ 1) ด้านการชี้นำตนเอง 2) ด้านความคล้อยตาม 3) ด้านขนบประเพณี 4) ด้านความสำเร็จ 5) ด้านความเป็นสากล 6) ด้านความปลอดภัย 7) ด้านสุขนิยม และ 8) ด้านความเมตตากรุณา ส่วนพยาบาล เจนเนอเรชั่นวายให้ความสำคัญกับค่านิยมในการทำงานระดับมากคือ 1) ด้านอำนาจ 2) ด้านขนบประเพณี 3) ด้านสิ่งเร้า และ 4) ด้านความคล้อยตาม ค่านิยมในการทำงานที่ให้ความสำคัญในระดับปานกลางคือ 1) ด้านความปลอดภัย 2) ด้านความสำเร็จ 3) ด้านการชี้นำตนเอง 4) ด้านความ เป็นสากล 5) ด้านความเมตตากรุณา 6) ด้านสุขนิยม และยังพบว่าผลการศึกษายังพบว่าพยาบาล เจนเนอเรชั่นเอ็กซ์มีค่านิยมในการทำงานด้านความคล้อยตามและค่านิยมในการทำงานด้านขนบประเพณีน้อยกว่าพยาบาลเจนเนอเรชั่นวายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) ส่วนค่านิยมในการทำงานด้านความเป็นสากล ด้านการชี้นำตนเอง ด้านสิ่งเร้า ด้านความเมตตากรุณา และด้านสุขนิยมสูงกว่าพยาบาลเจนเนอเรชั่นวายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.05) ผลการวิจัยนี้สามารถใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนพัฒนาบุคลากรแต่ละเจนเนอเรชั่นให้ประสบความสำเร็จในการทำงานen_US
Appears in Collections:NURSE: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611231047 นันทวัน มงคลเวส watermark.pdf1.91 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.