Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78985
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุภาวดี เพชรเกตุ-
dc.contributor.authorมะลิวัลย์ สนธิen_US
dc.date.accessioned2023-10-09T16:17:36Z-
dc.date.available2023-10-09T16:17:36Z-
dc.date.issued2566-03-31-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78985-
dc.description.abstractThis research of focuses on identities of Chiangmai fiddle performance was purposely conducted to analyze the identities thereof. The information was gathered from textbooks, books, and researches deeply related to Lanna fiddle and Lanna culture, as well as from the researcher’s experience since the researcher is a fiddle player. The researcher also collected information from 10 famous fiddle bands in Chiangmai which are followed by more than 1,000 followers on their Facebook page. The 10 bands are 1) Tawat Meangthoen (คณะธวัช เมืองเถิน), 2) Wilai Chai-Prakarn (คณะวิไล ไชยปราการ), 3) Khampong Mueang Lapoon (คณะคำป๋อง เมืองหละปูน), 4) KhruDon KhonMakMuan (คณะครูดน คนมักม่วน), 5) Phongphan Jomthong (คณะผ่องพรรณ จอมทอง), 6) U-thai Nongplaman (คณะอุทัย หนองปลามัน), 7) LoongKheeMao PhakKheeLaoSaMakKhee (คณะลุงขี้เมา พรรคขี้เหล้าสามัคคี), 8) Nong Jinda SiangSor Sanpatong (คณะเสียงซอสันป่าตอง น้องจินดา), 9) MonSiangSor Chiangmai (คณะมนต์เสียงซอ เชียงใหม่), and 10) Khamaun Wangkhampom (คณะคำอั๋น วังขามป้อม). Additionally, the researcher collected information from 2 Long Nan fiddle bands to analyze the identities of Chiangmai fiddle. The finding shows 2 identities that spotlight Chiangmai fiddle performance are 1) Teacher Respect Identity and 2) Performance Identity. The first shows that Chiangmai fiddle performance has different teacher respect ceremony compared to the Long Nan style. The offerings used to worship teachers are also different, similarly to the occasions to use those items. The latter indicates that Chiangmai fiddle performance style is more prominent that the Long Nan style due to the origins and cultures. Chiangmai fiddle performance style can be obviously seen and categorized due to the instruments, rhythm, performance, contents, and patterns. Moreover, the Chiangmai style is more adaptive to modern social context compared to the Long Nan style. At the present, value and attitude of people have rapidly changed. Audiences’ attitudes also changed. Therefore, Chiangmai fiddle players changed their costumes and performance channel in accordance with the globalization situation. As mentioned, those features make Chiangmai fiddle performance style outstanding and different from the Long Nan performance style.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectกาสรแสดงซอen_US
dc.subjectการแสดงพื้นบ้านen_US
dc.subjectล้านนาen_US
dc.subjectอัตลักษณ์en_US
dc.subjectเชียงใหม่en_US
dc.titleอัตลักษณ์การแสดงซอแบบเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeChiang Mai styled performing identity of Soren_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashซอ-
thailis.controlvocab.thashซอ -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashเครื่องดนตรี -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashการแสดงดนตรี-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยเรื่องอัตลักษณ์การแสดงซอแบบเชียงใหม่มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์อัตลักษณ์การแสดงซอแบบเชียงใหม่ โดยจะเก็บข้อมูลจากการศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากหนังสือ งานวิจัย ที่เกี่ยวข้องกับการซอและวัฒนธรรมล้านนาอย่างลึกซึ้ง และรวบรวมข้อมูลจากประสบการณ์การเป็นช่างซอของผู้วิจัยเองรวมถึงการเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์ตัวแทนคณะซอเชียงใหม่ 10 คณะที่มีชื่อเสียงโดยต้องมีเพจ Facebook จำนวนคนถูกใจมากกว่า 1000 คนขึ้นไป ดังนี้ 1.) คณะธวัช เมืองเถิน 2.) คณะวิไล ไชยปราการ 3.) คณะคำป๋อง เมืองหละปูน 4.) คณะครูดน คนมักม่วน 5.) คณะผ่องพรรณ จอมทอง 6.) คณะอุทัย หนองปลามัน 7.) คณะลุงขี้เมา พรรคขี้เหล้าสามัคคี 8.) คณะเสียงซอสันป่าตอง น้องจินดา 9.) คณะมนต์เสียงซอ เชียงใหม่ 10.) คณะคำอั๋น วังขามป้อม และเก็บข้อมูลซอแบบล่องน่านที่มีชื่อเสียงและมีการก่อตั้งคณะมาอย่างยาวนาน 2 คณะ เพื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์หาอัตลักษณ์เชียงใหม่ ผลการศึกษาพบว่า อัตลักษณ์ซอเชียงใหม่ที่มีความโดดเด่นทำให้การซอแบบเชียงใหม่มีลักษณะเฉพาะตัวมี 2 ประการสำคัญ ได้แก่ 1.) อัตลักษณ์พิธีไหว้ครู เนื่องจากซอเชียงใหม่นั้นมีลำดับการขึ้นครู หรือการรับขันครูแตกต่างจากซอแบบล่องน่าน รวมไปถึงองค์ประกอบ (อุปกรณ์) ภายในขันครูและโอกาสในการใช้ขันครูที่แตกต่างออกไปจากซอแบบล่องน่าน 2.) อัตลักษณ์การซอแบบเชียงใหม่ เนื่องจาก ความแตกต่างทางแหล่งกำเนิดของการซอและกระแสวัฒนธรรมที่แตกต่างกันทำให้เชียงใหม่มีอัตลักษณ์การซอแบบดั้งเดิมที่แตกต่างจากซอแบบล่องน่าน คือ จังหวะ เครื่องดนตรี ทำนองหลักที่ใช้ในการแสดง ลักษณะการแสดง เนื้อหาในการซอ แบบแผนในการแสดง อีกทั้งซอเชียงใหม่นั้นมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการซอไปตามบริบทสังคมในปัจจุบันจึงทำให้มีทั้งอัตลักษณ์ที่เด่นชัดขึ้น และเพิ่มเติมขึ้นโดยปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลง ได้แก่ ค่านิยมและสถานการณ์ทางสังคมที่เปลี่ยนไปทำให้ให้กลุ่มคนดูมีทัศนคติและการรับชมซอเปลี่ยนไป ส่งผลซอเชียงใหม่มีการเปลี่ยนแปลงเนื้อหาในการซอ การแต่งกายในการซอ ช่องทางการแสดงซอ ไปเพื่อให้สอดคล้องตามค่านิยมและกระแสสังคมที่เป็นไปตามโลกาภิวัตน์ อัตลักษณ์ดังกล่าวที่ได้กล่าวมาข้างต้นนี้ เป็นลักษณะเด่นที่ทำให้ซอเชียงใหม่มีลักษณะโดดเด่นเฉพาะตัวแตกต่างออกไปจากซอล่องน่านen_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610131011-มะลิวัลย์ สนธิ.pdf24.9 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.