Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78978
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุพรรณิกา ลือชารัศมี-
dc.contributor.advisorจิราคม สิริศรีสกุลชัย-
dc.contributor.authorพัชรินทร์ คำนาศักดิ์en_US
dc.date.accessioned2023-10-09T15:43:37Z-
dc.date.available2023-10-09T15:43:37Z-
dc.date.issued2566-03-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78978-
dc.description.abstractNowadays, technology plays a greater role in daily life, developing rapidly and potentially affecting the economy by replacing human labor, leading to a reduction in the employment of bank employees. Consequently, saving money becomes an important aspect of future financial planning. This study aimed to examine the effects of job security perception on precautionary savings of bank employee in Chiang Mai Province. A random sample of 400 participants was taken, revealing that the majority of them had an average monthly income ranging from 20,001 – 40,000 baht. Their savings were in the form of savings deposits and fixed deposits, with an average monthly savings amount ranging from 1 – 5,000 baht. In assessing job security, the study found that employees who felt insecure about their job and faced the risk of job loss had sufficient savings to cover expenses for 6 to 12 months. By analyzing the relationship between job security and precautionary savings, the study concluded that employees with a master's degree and higher average monthly income tended to save more. Additionally, employees who received suitable bonuses, regardless of their organizational level, demonstrated a higher inclination for saving. Nevertheless, if employees receive welfare benefits or increased compensation, they are more likely to allocate additional funds for emergencies. However, a favorable economic situation will lead to a decrease in precautionary savings. Nonetheless, the feeling of job security does not significantly impact on precautionary savings.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของความรู้สึกมั่นคงในการทำงานที่มีต่อการออมไว้ใช้ยามฉุกเฉินของพนักงานธนาคารในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeEffects of job security perception on precautionary saving of bank personnel in Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashความมั่นคงในการทำงาน-
thailis.controlvocab.thashการออมกับการลงทุน-
thailis.controlvocab.thashพนักงานธนาคาร -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashธนาคารและการธนาคาร -- เชียงใหม่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractปัจจุบันเทคโนโลยีเข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันมากขึ้น ซึ่งมีการพัฒนาอย่างรวดเร็วและอาจส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจเพราะเมื่อเทคโนโลยีเข้ามาทดแทนจะมีผลกระทบต่อการลดการจ้างงานของพนักงานธนาคาร การออมเงินจึงเป็นสิ่งสำคัญในการวางแผนทางการเงินในอนาคต ผู้ศึกษาจึงต้องการศึกษาผลของความรู้สึกมั่นคงในการทำงานที่มีต่อการออมไว้ใช้ยามฉุกเฉินของพนักงานธนาคารในจังหวัดเชียงใหม่ โดยการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ จำนวน 400 ชุด พบว่า ส่วนใหญ่มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 20,001 – 40,000 บาท พฤติกรรมการออมเงินมีรูปแบบการออมเงินก่อนแล้วใช้จ่ายทีหลัง และออมเงินในรูปแบบเงินฝากออมทรัพย์ เงินฝากประจา โดยมีการจำนวนออมเงินเฉลี่ยต่อเดือน 1 – 5,000 บาท จากผลการประเมินความรู้สึกมั่นคง พนักงานมีความรู้สึกไม่มั่นคงในการทำงาน หากมีความเสี่ยงว่าจะตกงานพนักงานมีเงินออมเพียงพอต่อรายจ่ายเป็นระยะเวลา 6 – 12 เดือน และจากการศึกษาความรู้สึกมั่นคงในการทำงานที่มีต่อการออมไว้ใช้ยามฉุกเฉินของพนักงานธนาคารในจังหวัดเชียงใหม่ โดยการวิเคราะห์ข้อมูลแล้วทำการประมาณค่าสัมประสิทธิ์ของสมการถดถอยเพื่อหาความสัมพันธ์ของตัวแปร พบว่า พนักงานที่มีระดับการศึกษาปริญญาโทและมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนเพิ่มขึ้น มีผลต่อการออมเงินมากขึ้น เมื่อพนักงานได้รับโบนัสที่มีความเหมาะสมและไม่ว่าจะอยู่ในระดับใดในองค์กรก็จะออมเงินเพิ่มขึ้นอีกด้วย เเต่หากสถานการณ์เศรษฐกิจดีจะส่งผลให้จำนวนเงินออมฉุกเฉินลดลง อย่างไรก็ตามหากได้รับสวัสดิการหรือค่าตอบแทนที่เพิ่มขึ้นก็จะส่งผลให้มีกาารออมเงินไว้ใช้ยามฉุกเฉินเพิ่มมากขึ้นด้วย แต่ถึงอย่างไรก็ตามความรู้สึกมั่นคงในการทำงานไม่ส่งผลต่อการออมไว้ใช้ยามฉุกเฉินen_US
Appears in Collections:ECON: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611632024-พัชรินทร์ คำนาศักดิ์.pdf1.65 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.