Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78964
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอักษรา ทองประชุม-
dc.contributor.advisorจักรกฤษณ์ วังราษฎร์-
dc.contributor.authorชนัญชิดา เนตรประสาทen_US
dc.date.accessioned2023-10-07T05:47:43Z-
dc.date.available2023-10-07T05:47:43Z-
dc.date.issued2020-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78964-
dc.description.abstractThis study was considered the mixed method research with aims to investigate the performance of communication channels in Regional Health 1 and the relevant problems of such communication in Regional Health 1. The population in this study included of executives and committee of Regional Health 1 for the 2018 year through the purposive sampling. The instruments used in the quantitative research consisted of descriptive statistics e.g. frequency, percentage, average, and standard deviation. The instrument used in the qualitative research was the semi-structure form among five executives of Regional Health 1. Data analysis was classified and categorized by the main aspects along with data connections to find out the similarities and differences of the answers before they were finally concluded in each aspect. The quantitative study found that 1) 75.20 percent of the population were females, 37.60 percent aged between 51-60 years, 49.60 percent holding the degree higher than the bachelor degree, 27.20 percent positioned as the public health technical officer, 30.40 percent working in the Division of Health Service System Development, and 62.40 percent having the working periods with Regional Health 1 less than or equal to five years; 2) opinions on the organizational communication channels regarding the receipt of news and information within Regional Health 1 showing a moderate level (Mean 3.14 , S.D. = 1.12), the sending of news and information within Regional Health 1 showing a moderate level (Mean 3.15, S.D. = 1.18), and their satisfaction showing a moderate level (Mean 3.36, S.D. = 1.10); 3) the performance of communication channels within the organization regarding the understanding of received news and information showing a high level (Mean 3.55, S.D. = 1.04), the speed of sending-receiving news and information showing a moderate level (Mean 3.31, S.D. = 0.93), and convenience for sending-receiving news and information showing a high level (Mean 3.48, S.D. = 0.97). The mostly used communication channels were social media (Line Application, Facebook) whereas the communication channel mostly used for sending-receiving news and information quickly was through the telephone. These results were consistent with those of the qualitative research, indicating that most users prioritized the communication in terms of comfort, speed, and accurate understanding. The main communication channels used in the Regional Health were Line Application and telephone. It was accordingly agreed that these communication channels helped to achieve the work targets and minimize the mistakes. The most effective work performance was therefore obtaineden_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleประสิทธิภาพการใช้ช่องทางการติดต่อสื่อสารภายในเขต สุขภาพที่ 1en_US
dc.title.alternativePerformance of communication channels in Regional Health 1en_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashการสื่อสาร-
thailis.controlvocab.thashช่องทางการสื่อสาร-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้เป็นเป็นการวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาช่องทางการติดต่อสื่อสารที่มีประสิทธิภาพภายในเขตสุขภาพที่ 1 และศึกษาปัญหาอุปสรรคของ การติดต่อสื่อสารในเขตสุขภาพที่ 1 กลุ่มประชากรในการศึกษาครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริหารเขตสุขภาพที่ 1 และคณะกรรมการเขตสุขภาพที่ 1 ประจำปี 2561 โดยวิธีการคัดเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเชิงปริมาณเปีนแบบสอบถามสำรวจความคิดเห็นของกลุ่ม คณะกรรมการเขตสุขภาพที่ 1 จำนวน 125 คน วิเคราะห์ผลการศึกษาด้วยสถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเชิงคุณภาพเป็นแบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง (Semi- structure interview form) ในกลุ่มผู้บริหารเขตสุขภาพที่ 1 จำนวน 5 คน วิเคราะห์ผลการศึกษาด้วยการจำแนก และจัด หมวดหมู่ข้อมูลตามประเด็นหลัก เชื่อมโยงข้อมูล เพื่อหาความเหมือน ความแตกต่างระหว่างแนว คำตอบ แล้วนำมาวิกราะข้อสรุปร่วมค่าละประเด็น ผลการศึกษาเชิงปริมาณพบว่า 1) กลุ่มประชากรเป็นเพศหญิง ร้อยละ 75.20 มีอายุระหว่าง 51 - 60 ปี ร้อยละ 37.60 ระดับการศึกษาสูงกว่าระดับปริญญาตรี ร้อยละ 49.60 ดำรงตำแหน่งเป็น นักวิชาการสาธารณสุข ร้อยละ 27.20 ปฏิบัติงานในกลุ่มงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ร้อยละ 30.40 และระชะเวลาที่ร่วมปฏิบัติงานกับเขตสุขภาพที่ 1 ส่วนใหญ่น้อยกว่าเท่ากับ 5 ปี ร้อยละ 62.40 2) ความคิดเห็นต่อช่องทางการสื่อสารในองค์กร ด้านการรับข้อมูลข่าวสารภายในเขตสุขภาพที่ 1 อยู่ ในระดับปานกลาง (Mean 3.14, S.D. = 1.12) ด้านการส่งข้อมูลข่าวสารภายในเขตสุขภาพที่ 1 อยู่ใน ระดับปานกลาง (Mean 3.15, S.D. = 1.18) และด้านความพึงพอใจ อยู่ในระดับปานกลาง (Mean 3.36, S.D. = 1.10) 3) ประสิทธิภาพการสื่อสารข้อมูลผ่านช่องทางการสื่อสารในองค์กร ด้านความเข้าใจ ข้อมูลข่าวสารที่ ได้รับ อยู่ในระดับมาก (Mean 3.55, S.D. = 1.04) านความรวดเร็วในการรับ - ส่ง ข้อมูลข่าวสาร อยู่ในระดับปานกลาง (Mean 3.31, S.D. = 0.93) และด้านความสะดวกในการรับ - ส่ง ข้อมูลข่าวสาร อยู่ในระดับมาก (Mean 3.48, S.D. = 0.97 โดยความคิดเห็นส่วนใหญ่ช่องทางที่ใช้มาก ที่สุด คือ สื่อสังคมออนไลน์ (ไลน์ เฟซบุ๊ก) มีด้านความรวดเร็วในการรับ -ส่ง ข้อมูลข่าวสาร ที่ใช้ ช่องทางโทรศัพท์มากที่สุด สอดคล้องกับผลการศึกษาเชิงคุณภาพที่พบว่า ส่วนใหญ่ให้ความสำคัญ การสื่อสารในด้านความสะดวก รวดเร็ว และเข้าใจได้ตรงกัน โดยช่องทางที่ใช้ติดต่อสื่อสารภายใน เขตสุขภาพเป็นหลัก คือ ไลน์ และโทรศัพท์ ซึ่งมีความเห็นไปในทางเดียวกันว่าเป็นช่องทางที่สื่อสาร แล้วสามารถปฏิบัติงานตรงตามเป้าหมาย และลดความเสี่ยงความผิดพลาด ทำให้การทำงาน มี ประสิทธิภาพมากที่สุดen_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
592232015 ชนัญชิดา เนตรประสาท.pdf2.74 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.