Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78933
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอภิรดี นันท์ศุภวัฒน์-
dc.contributor.advisorเพชรสุนีย์ ทั้งเจริญกุล-
dc.contributor.authorรัตติยาภรณ์ วิสงค์en_US
dc.date.accessioned2023-10-05T17:42:18Z-
dc.date.available2023-10-05T17:42:18Z-
dc.date.issued2564-12-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78933-
dc.description.abstractWork safety management represents suitably managing safety and health in the nursing workplace. The purpose of this descriptive study was to study the level of occupational safety management and to study the problems and obstacles of occupational safety management for nurses in Nakornping Hospital. The samples were 322 registered nurses. The study instrument was a questionnaire based on personnel safety goals: SIMPLE Thailand 2018. The data were analyzed by using descriptive statistics, including frequency, mean, percentage and standard deviation; the problems and obstacles were summarized and categorized. The results of the study revealed that the overall score of occupational safety management for nurses in Nakornping Hospital was at an excellent level (x̅=2.17, SD=0.44). Five aspects were at excellent levels including security and privacy of information and social media, infection and exposure, mental health and mediation, work process, lan and legal issues. The aspect of environment and working conditions was at a good level. The problems and obstacles of occupational safety management for nurses are as follows: 1) personnel were not aware of the ethics of personal disclosure; 2) infection and transmission practices were not communicated to operators at all levels; 3) there were too many patients who received incomplete services, leading to complaints and stress problems; 4) safety processes lacked the main responsibility for operations and budget support; 5) the equipment in emergency ambulances was not sufficient for the rate of use, and legal knowledge training to update knowledge with current events had not yet been covered; and 6) the buildings were original structures that are difficult to renovate, and there was an insufficient workforce for operation. The results of this study are beneficial for both hospital executives and nursing administrators to create a development plan for each aspect of occupational safety management for nurses in Nakornping Hospital in the future.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการจัดการความปลอดภัยในการทำงานสำหรับพยาบาล โรงพยาบาลนครพิงค์en_US
dc.title.alternativeWork safety management for nurses, Nakornping Hospitalen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashโรงพยาบาลนครพิงค์-
thailis.controlvocab.thashโรงพยาบาล -- มาตรการความปลอดภัย-
thailis.controlvocab.thashความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม-
thailis.controlvocab.thashพยาบาล -- เชียงใหม่-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการจัดการความปลอดภัยในการทำงานเป็นการจัดการด้านความปลอดภัยและสุขภาพอนามัย ในการทำงานที่เหมาะสมกับพยาบาล การศึกษาเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการ จัดการความปลอดภัยในการทำงานและศึกษาปัญหาและอุปสรรคของการจัดการความปลอดภัยใน การทำงานสำหรับพยาบาลในโรงพยาบาลนครพิงค์ กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 322 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเป็นแบบสอบถามที่สร้างขึ้นตามแนวคิด เป้าหมายความปลอดภัยของ บุคลากรสาธารณสุข ของประเทศไทย พ.ศ. 2561 หรือ Personnel safety goals: SIMPLE Thailand 2018 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย ได้แก่ ความถี่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน ส่วนปัญหาและอุปสรรคใช้การสรุป เนื้อหาและจัดหมวดหมู่ ผลการศึกษาพบว่า คะแนนการจัดการความปลอดภัยในการทำงานสำหรับพยาบาล โรงพยาบาลนครพิงค์ โดยรวมอยู่ในระดับดีมาก (x̅ =2.17, SD=0.44) เมื่อแยกเป็นรายด้านพบว่า 5 ด้าน อยู่ในระดับดีมาก ได้แก่ ด้านการรักษาความปลอดภัยและความเป็นส่วนตัวของข้อมูลและสื่อสังคม ด้านการติดเชื้อและแพร่กระจายเชื้อ ด้านสุขภาพจิตที่ดีและการจัดการข้อร้องเรียน ด้านกระบวนการ ทำงาน ด้านการใช้รถพยาบาลฉุกเฉินที่ปลอดภัยและประเด็นทางกฎหมาย ส่วนด้านที่อยู่ในระดับดี ได้แก่ ด้านสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยและสภาพการทำงาน ปัญหาและอุปสรรค ในการจัดการความปลอดภัยในการทำงานสำหรับพยาบาล มีดังนี้ 1) บุคลากรขาดความตระหนักในด้านจริยธรรมการเปิดเผยข้อมูลส่วนตัว 2) แนวปฏิบัติการติดเชื้อและ แพร่กระจายเชื้อมีการสื่อสารไม่ถึงผู้ปฏิบัติทุกระดับชั้น 3) มีผู้รับบริการจำนวนมาก ให้บริการไม่ทั่วถึง ทำให้เกิดข้อร้องเรียนและเกิดปัญหาความเครียด 4) กระบวนการทำงานด้านความปลอดภัยขาด ผู้รับผิดชอบหลักในการดำเนินงานและด้านงบประมาณที่มาสนับสนุน 5) อุปกรณ์ในรถพยาบาลฉุกเฉิน ไม่เพียงพอต่ออัตราการใช้งาน และขาดการอบรมองค์ความรู้ด้านกฎหมายให้ทันสมัย 6) โครงสร้าง ของสถานที่ไม่สามารถปรับแก้ไข และอัตรากำลังไม่เพียงพอต่อการปฏิบัติงาน ผลที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้เป็นประโชน์ต่อผู้บริหารโรงพยาบาล และผู้บริหารทางการพยาบาลได้ นำไปวางแผนพัฒนาการจัดการความปลอดภัยในการทำงานสำหรับพยาบาลของโรงพยาบาลนครพิงค์ ต่อไปen_US
Appears in Collections:NURSE: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621231051 รัตติยาภรณ์ วิสงค์.pdf1.39 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.