Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78915
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรังสิยา นารินทร์-
dc.contributor.advisorศิวพร อึ้งวัฒนา-
dc.contributor.authorนงลักษณ์ คำโฉมen_US
dc.date.accessioned2023-10-03T10:57:52Z-
dc.date.available2023-10-03T10:57:52Z-
dc.date.issued2023-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78915-
dc.description.abstractThis study, with a quasi-experimental, two-group, pretest-posttest design aims to compare local caregivers’ care practice scores regarding caring for bedridden older persons with pressure sores in a community. The participants were 60 local caregivers who worked in Petchaboon province. The participants were selected by purposive sampling and assigned to an experimental group (n=30) or a control group (n=30). The study was conducted from January to February 2023. The research instruments consisted of 1) a 5-week program on the empowerment of care practices for local caregivers in caring for bedridden older persons with pressure sores, 2) a manual and media about care practices for local caregivers in caring for bedridden older persons with pressure sores, including the caregiver 4.0 application, and 3) an assessment form for the care practices of local caregivers in caring for bedridden older persons with pressure sores in the community which was verified for content accuracy by six experts with a Kuder-Richardson (KR-20) of 0.93. The data were analyzed with descriptive statistics, paired t–test, and independent t–test statistics. The results showed that the experimental group had higher mean scores for care practices in caring for bedridden older persons with pressure sores than before receiving the empowerment program and higher than those of the control group with statistical significance (p<0.001). This finding can be used as a guide for community nurses and health care teams to promote the empowerment of local caregivers to ensure and maintain the practices of caring for bedridden older persons with pressure sores in communities effectively, accurately, and efficiently. It will be an important guideline to establish standards and quality of care for bedridden older persons with pressure sores in the community that are consistent with the problems, needs and contexts of the community in the future.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleผลของโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจต่อการปฏิบัติดูแลของนักบริบาลท้องถิ่นในการดูแลผู้สูงอายุติดเตียงที่มีแผลกดทับในชุมชนen_US
dc.title.alternativeEffect of the empowerment program on care practices of local caregivers in caring for bedridden older persons with pressure ulcers in the communityen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashผู้สูงอายุ -- การดูแล-
thailis.controlvocab.thashอาสาสมัครสาธารณสุข-
thailis.controlvocab.thashการพยาบาล-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง (quasi-experimental research) แบบ 2 กลุ่ม วัดก่อน-หลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบคะแนนการปฏิบัติดูแลผู้สูงอายุติดเตียงที่มีแผลกดทับในชุมชน กลุ่มตัวอย่างเป็นนักบริบาลท้องถิ่น จังหวัดเพชรบูรณ์ คัดเลือกแบบเจาะจง จำนวน 60 คน แบ่งเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง กลุ่มละ 30 คน รวบรวมข้อมูลระหว่างเดือน มกราคม ถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2566 เครื่องมือในการวิจัย ประกอบด้วย 1) โปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจต่อการปฏิบัติดูแลของนักบริบาลท้องถิ่นในการดูแลผู้สูงอายุติดเตียงที่มีแผลกดทับในชุมชน เป็นระยะเวลา 5 สัปดาห์ 2) สื่อและคู่มือการปฏิบัติดูแลของนักบริบาลท้องถิ่นในการดูแลผู้สูงอายุติดเตียงที่มีแผลกดทับในชุมชน และแอพลิเคชั่น caregiver 4.0 และ 3) แบบประเมินการปฏิบัติดูแลของนักบริบาลท้องถิ่นในการดูแลผู้สูงอายุติดเตียงที่มีแผลกดทับในชุมชน ซึ่งได้ผ่านการตรวจสอบความตรงของเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 6 ท่าน ได้ค่าความความเชื่อมั่นแบบคูเดอร์-ริชาร์ดสัน (Kuder-Richardson: KR-20) เท่ากับ 0.93 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา สถิติ pair t–test และ independent t–test ผลการวิจัยพบว่า หลังได้รับโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจ กลุ่มทดลองมีคะแนนการปฏิบัติดูแลผู้สูงอายุติดเตียงที่มีแผลกดทับในชุมชนของนักบริบาลท้องถิ่นสูงขึ้นกว่าก่อนได้รับโปรแกรมการเสริมสร้างพลังอำนาจ และสูงขึ้นกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) ผลการวิจัยนี้สามารถใช้เป็นแนวทางให้พยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนและทีมสุขภาพนำไปใช้ในการส่งเสริมพลังอำนาจของนักบริบาลท้องถิ่นให้เกิดความมั่นใจและคงไว้ซึ่งการปฏิบัติการดูแลผู้สูงอายุติดเตียงที่มีแผลกดทับได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ และจะเป็นแนวทางสำคัญในการสร้างมาตรฐานและคุณภาพในการดูแลผู้สูงอายุติดเตียงที่มีแผลกดทับในชุมชน ที่สอดคล้องกับปัญหาความต้องการและบริบทของชุมชนต่อไปen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
631231131 - นงลักษณ์ คำโฉม-WM.pdf2.56 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.