Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78876
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเสมอแข สมหอม-
dc.contributor.advisorวีระพันธ์ จันทร์หอม-
dc.contributor.authorพิมพ์ภรณี อริยชัยกุลen_US
dc.date.accessioned2023-09-15T01:16:38Z-
dc.date.available2023-09-15T01:16:38Z-
dc.date.issued2023-08-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78876-
dc.description.abstractThis research report presents the Developing Virtual Tour Media of the History of the Presbyterian Church Overseas Mission for Medical Field in Northern Thailand Using Interface Design Techniques, which are consistent with the principles of human-computer interaction. It brings together theory and practice, to design according to the design process that meets human needs, resulting in the adoption of technology, and the use of photogrammetry techniques to mold three-dimensional models of important ancient objects in medicine. The research objectives are (1) to develop Virtual Tour Media of the History of the Presbyterian Church Overseas Mission for Medical Field in Northern Thailand Using Interface Design Techniques, and (2) to study the approach to the development of Virtual Tour Media of the History of the Presbyterian Church Overseas Mission for Medical Field in Northern Thailand Using Interface Design Techniques, consistent with the principles of human-computer interaction. This research was conducted in collaboration with the Archives of Payap University, Chiang Mai, Red Cross Station 3, Chiang Mai, Doctor Chao Fah Museum McCormick Hospital, Chiang Mai, McKean Institute Photographic Museum, Chiang Mai Prov, Central Library, Chiang Mai University, Technology and Interdisciplinary Management, and Graduate School, Chiang Mai University. For the development of virtual tour, the following stages of human-computer interaction principles have been adopted: (1) Task analysis, (2) Requirements gathering, (3) Design and storyboarding, (4) Prototype Implementation, (5) Evaluation, and (6) System maintenance. The results of the IOC questionnaire accuracy determination evaluated by experts, each question in the Virtual Tour Performance with Usability Testing by 3 experts. and a technology acceptance with Technology Acceptance Model 3 from a sample of high school students at Dara Academy, a school where Presbyterian missionaries were founded as follows: 105 students, grades 10 - 11, with an IOC value between 0.60 - 1.00. The results of the virtual tour performance with Usability Testing evaluated by 3 experts showed that the functionality of the system works. Design, content, and satisfaction to use were excellent and the results of a technology acceptance with the Technology Acceptance Model 3 from a sample of 105 high school students at Dara Academy, grades 10 - 11, showed that the perception of usefulness, the perception of ease of use, and the Intention to Use the system were very good.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectเทคโนโลยีความเป็นจริงเสมือนen_US
dc.subjectสื่อทัวร์เสมือนจริงen_US
dc.subjectการยอมรับเทคโนโลยีen_US
dc.subjectการปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์en_US
dc.titleการพัฒนาสื่อทัวร์เสมือนจริง เรื่องประวัติพันธกิจคริสตจักรเพรสไบทีเรียนโพ้นทะเลด้านการแพทย์ในภาคเหนือของประเทศไทยโดยใช้เทคนิคการออกแบบส่วนต่อประสานen_US
dc.title.alternativeDeveloping virtual tour media of the history of the Presbyterian church overseas mission for medical field in Northern Thailand using interface design techniquesen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashความจริงเสมือน-
thailis.controlvocab.thashความจริงเสมือนในการแพทย์-
thailis.controlvocab.thashการแพทย์ -- ไทย (ภาคเหนือ)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractรายงานผลการวิจัยนี้ได้มีการนําเสนอการพัฒนาสื่อทัวร์เสมือนจริง เรื่องประวัติพันธกิจคริสตจักรเพรสไบทีเรียนโพ้นทะเลด้านการแพทย์ในภาคเหนือของประเทศไทยโดยใช้เทคนิคการออกแบบส่วนต่อประสาน ซึ่งสอดคล้องกับหลักการการปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และคอมพิวเตอร์ (Human–computer interaction: HCI) ที่ให้ความรู้สึกเป็นธรรมชาติกับผู้ใช้ เป็นการนำเอาทฤษฎีและการปฏิบัติเข้าด้วยกัน เพื่อการออกแบบตามขั้นตอนการออกแบบที่ตรงกับความต้องการของมนุษย์ที่ส่งผลให้เกิดการยอมรับเทคโนโลยี และมีการนำเทคนิค photogrammetry มาใช้ในการปั้นโมเดล 3 มิติวัตถุโบราณที่สำคัญทางด้านการแพทย์ โดยมีวัตถุประสงค์การวิจัยคือ (1) เพื่อพัฒนาสื่อทัวร์เสมือนจริง เรื่องประวัติพันธกิจคริสตจักรเพรสไบทีเรียนโพ้นทะเลด้านการแพทย์ในภาคเหนือของประเทศไทยโดยใช้เทคนิคการออกแบบส่วนต่อประสาน (2) เพื่อนำเสนอแนวทางการพัฒนาสื่อทัวร์เสมือนจริง เรื่องประวัติพันธกิจคริสตจักรเพรสไบทีเรียนโพ้นทะเลด้านการแพทย์ในภาคเหนือของประเทศไทยโดยใช้เทคนิคการออกแบบส่วนต่อประสานที่สอดคล้องกับหลักการการปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และคอมพิวเตอร์ (Human–computer interaction: HCI) งานวิจัยครั้งนี้ได้รับความร่วมมือจากหอจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยพายัพ จังหวัดเชียงใหม่ สถานีกาชาดที่ 3 จังหวัดเชียงใหม่ พิพิธภัณฑ์หมอเจ้าฟ้า โรงพยาบาลแมคคอร์มิค จังหวัดเชียงใหม่ พิพิธภัณฑ์ภาพถ่ายสถาบันแมคเคน จังหวัดเชียงใหม่ สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และสาขาวิชาเทคโนโลยีและสหวิทยาการจัดการ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สําหรับการพัฒนาสื่อทัวร์เสมือนจริงได้มีการนำขั้นตอนของหลักการการปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และคอมพิวเตอร์มาใช้ดังนี้ (1) การวิเคราะห์งาน (2) การรวบรวมความต้องการ (3) การออกแบบและเรียบเรียงเรื่องราว (4) การทดสอบระบบ (5) การประเมินการใช้งานได้ และ (6) การบำรุงรักษาระบบ ผลจากการหาค่าความเที่ยงตรงของแบบสอบถาม (IOC) โดยผู้เชี่ยวชาญ ข้อคำถามแต่ละข้อในแบบประเมินประสิทธิภาพสื่อทัวร์เสมือนจริงด้วย Usability Testing โดยผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่านและแบบประเมินการยอมรับเทคโนโลยีด้วย Technology Acceptance Model 3 จากกลุ่มตัวอย่างนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรียนดาราวิทยาลัย ซึ่งเป็นโรงเรียนที่มิชชันนารีเพรสไบทีเรียนได้ก่อตั้งขึ้นมา ดังนี้ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายปีที่ 4 - 5 จำนวน 105 คน มีค่า IOC ของข้อคำถามทุกข้ออยู่ระหว่าง 0.60 - 1.00 ข้อคำถามทุกข้อมีค่าความเที่ยงตรง ใช้ได้ ผลจากการประเมินประสิทธิภาพสื่อทัวร์เสมือนจริงด้วย Usability Testing โดยผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน แสดงให้เห็นว่าการทำงานได้ตามฟังก์ชันงานของระบบ ความเหมาะสมในการออกแบบ ความเหมาะสมของเนื้อหา และความพึงพอใจในการนำไปใช้จริงมีประสิทธิภาพมากที่สุด และผลจากการประเมินการยอมรับเทคโนโลยีด้วย Technology Acceptance Model 3 จากกลุ่มตัวอย่างนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลายของโรงเรียนดาราวิทยาลัย ซึ่งเป็นโรงเรียนที่มิชชันนารีเพรสไบทีเรียนได้ก่อตั้งขึ้นมา ดังนี้ นักเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายปีที่ 4 - 5 จำนวน 105 คน แสดงให้เห็นว่าการรับรู้ถึงความมีประโยชน์ การรับรู้ถึงความง่ายในการใช้ และความตั้งใจในการใช้ระบบเกิดการยอมรับและสร้างความพึงพอใจในระดับมากen_US
Appears in Collections:GRAD-Sciences and Technology: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
649932006-พิมพ์ภรณี อริยชัยกุล.pdf48.74 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.