Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78846
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวราภรณ์ เรืองศรี-
dc.contributor.advisorพศุตม์ ลาศุขะ-
dc.contributor.authorพงศกร เฉลิมชุติเดชen_US
dc.date.accessioned2023-09-11T01:02:15Z-
dc.date.available2023-09-11T01:02:15Z-
dc.date.issued2566-05-30-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78846-
dc.description.abstractThis study examines the transformation of "knowledge" in Thai society through the travelogue from the traditional era to the late twenty-first century in order to demonstrate travel knowledge formations throughout time that differ depending on the gazes, ideologies, mentalities, and emotions of each governmental era. Findings demonstrate that knowledge formations in travelogues vary with the altering of power. In the traditional era, the discomfort of voyage was primarily narrated through the loss of loved ones. the purpose of voyages transformed. In the early era of the Chakri Dynasty, with the expansion of trade and economy, Thai poetry was composed in a more empirical and pleasurable manner, as well as providing a way of life. Following the signing of the Bowring Treaty, changes in the new world order generated an orderly division of time as well as the transformation of modern knowledge which gave a realistic vision. This also established the specific power and imagined colonial state of Siam that linked people as a subject of the "civilized" king, on par with other Western colonials. This phenomenon affected the definition and mentality of "citizen," who was capable of modernizing the state, which led to the revolution in 1932. The travelogue on the post-revolutionary era reflects the efforts to create an understanding of democracy and also the "habit" of the civilians who led the country toward modernity. The 1950s industrialization was a crucial phase in which travel knowledge evolved from a tool to guide the country toward modernity to a knowledge of journey within a tourism sector that would help develop newly industrialized nations. Simultaneously, the collaboration of envisioned nation and tourist attractions were employed to promote the tourism industry. The rapid changes of urbanization and social problems were reflected in travelogues in the 1980s and 1990s, which began to demand that both government and people recuperated the values of virtue rather than the ideology of "economic animals," that were enamor materials, in order to solve social problems, such as corruption and environmental issues. The potential to regulate travel knowledge has shifted from the government and capitalists to individuals during the 2000s. Independent travelers have created "traveler identity" in order to temporarily leave their own safe zone and create a variety of experiences, while also assembling "entrepreneurial self," which promotes consideration of thoughts, identities, and emotions among travelers. This special knowledge not only occurs throughout the journey, but it also becomes knowledge that directs their own journal life.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleบันทึกการเดินทาง : ความเปลี่ยนแปลงทางความคิดและอารมณ์ความรู้สึกในสังคมไทย พ.ศ. 2540-2560en_US
dc.title.alternativeTravelogue: the transformation of thought and emotion in Thailand, 1997-2017en_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashไทย -- ประวัติศาสตร์-
thailis.controlvocab.thashไทย -- การเมืองและการปกครอง-
thailis.controlvocab.thashไทย -- ภาวะสังคม-
thailis.controlvocab.thashพลเมืองไทย-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractวิทยานิพนธ์นี้ต้องการศึกษาความเปลี่ยนแปลงของ “ความรู้” ในสังคมไทยผ่านหนังสือบันทึกการเดินทางตั้งแต่สมัยจารีตถึง พ.ศ. 2560 โดยพยายามชี้ให้เห็นถึงความรู้ในการเดินทางที่เปลี่ยนไป ผ่านการจ้องมอง อุดมการณ์ ความคิดและอารมณ์ความรู้สึกในแต่ละช่วงเวลาที่สัมพันธ์กับอำนาจการปกครองที่เปลี่ยนไปในแต่ละยุคสมัย จากการศึกษาพบว่า ความรู้ในหนังสือบันทึกการเดินทางแต่ละช่วงเวลาสัมพันธ์กับอำนาจที่เปลี่ยนไป ในช่วงรัฐจารีตที่การเดินทางเป็นเรื่องที่ยากลำบากการเดินทางจึงเต็มไปด้วยการไคร่ครวญอาลัยหาถึงคนรัก จนกระทั่งในช่วงต้นรัตนโกสินทร์การเดินทางเริ่มเปลี่ยนไปในทางที่เป็นมิตรขึ้น รวมไปถึงการขยายตัวของการค้าทำให้นิราศในสมัยต้นรัตนโกสินทร์เริ่มเขียนถึงพื้นที่ต่างๆ ในเชิงประจักษ์ และเพลิดเพลินมากขึ้น รวมไปถึงเป็นประโยชน์ต่อการหาลู่ทางในการทำมาหากิน ความเปลี่ยนแปลงในระเบียบโลกใหม่หลังการลงนามในสนธิสัญญาเบาริ่งที่ทำให้เกิดการแบ่งเวลาที่เป็นระเบียบ รวมไปถึงการเปลี่ยนแปลงของความรู้สมัยใหม่ ได้ทำให้การจ้องมองสรรพสิ่งสัมพันธ์กับการเป็นวัตถุหรือทรัพยากรที่สามารถจับต้องได้ ในขณะเดียวกันก็เป็นการสถาปนาอำนาจและจินตนาการของความเป็นชาติของอาณานิคมสยามให้กับไพร่ฟ้าที่อยู่ภายใต้การปกครองของกษัตริย์ผู้มีความ “ศิวิไลซ์” ทัดเทียมกับชาติตะวันตก ซึ่งความเปลี่ยนแปลงในช่วงรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่ทำให้ให้เกิดความคิดของความเป็น “พลเมือง” ผู้ที่มีความสามารถในการสร้างความเจริญก้าวหน้าให้กับประเทศชาติได้ นำมาสู่การเปลี่ยนแปลงการปกครองใน พ.ศ. 2475 ซึ่งบันทึกการเดินทางในช่วงเวลาดังกล่าวสะท้อนให้เห็นถึงความพยายามสร้างความเข้าใจในระบอบประชาธิปไตยและสร้าง “นิสสัย” ให้กับราษฎรเป็นผู้นำพาประเทศชาติไปสู่ความเจริญก้าวหน้า ในช่วงทศวรรษ 2500 ที่ประเทศเข้าสู่เศรษฐกิจอุตสาหกรรม เป็นช่วงเวลาที่สำคัญของความเปลี่ยนแปลงของความรู้ในหนังสือบันทึกการเดินทาง จากการเป็นความรู้ที่เป็นเครื่องมือเพื่อนำพาประเทศชาติสู่ความเจริญ เป็นความรู้ในการเดินทางไปยังสถานที่ต่างๆ ภายใต้การมองการท่องเที่ยวเป็นอุตสาหกรรมในการพัฒนาประเทศ ในขณะเดียวกัน จินตกรรมของความเป็นชาติและสถานที่ท่องเที่ยวต่างๆ ได้ถูกแปลงให้กลายเป็นทรัพยากรในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวด้วย เมื่อการพัฒนาอย่างรวดเร็วส่งผลให้เกิดปัญหาต่างๆ ในสังคมมากมาย หนังสือยันทึกการเดินทางในช่วงทศวรรษ 2520 และ 2530 เริ่มสะท้อนให้เห็นถึงการเรียกร้องให้รัฐบาลและคนในสังคมหันกลับมาเห็นคุณค่าถึงความเจริญทางด้านจิตใจมากกว่าการให้ความสำคัญทางเศรษฐกิจที่ทำให้มนุษย์กลายเป็น “สัตว์เศรษฐกิจ” ที่ลุ่มหลงในวัตถุ ซึ่งจะนำมาสู่การแก้ปัญหาต่างๆ ของสังคมไม่ว่าจะเป็นการแก้ปัญหาคอรัปชั่น ปัญหาสิ่งแวดล้อม ตั้งแต่ทศวรรษ 2540 เป็นต้นมา เมื่อความรู้ในการเดินทางเปิดโอกาสให้อำนาจในการบริหารจัดการการเดินทางจากรัฐและทุนมาเคลื่อนมาสู่ปัจเจกบุคคลมากขึ้น การเดินทางด้วยตนเองที่ต้องการออกจากพื้นที่ปลอดภัยและสร้างประสบการณ์อันหลากหลายได้ประกอบสร้าง “ตัวตนแบบนักเดินทาง” ขึ้นมา ในขณะเดียวกันการประกอบสร้าง “ตัวตนแบบผู้ประกอบการ” ก็เป็นตัวส่งเสริมให้เกิดการพิจารณาความคิด ตัวตน และอารมณ์ความรู้สึกแก่นักเดินทาง ซึ่งความรู้ดังกล่าวไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะในระหว่างการเดินทางเท่านั้น แต่ยังกลายมาเป็นความรู้ให้กับตัวตนในโลกปกติชีวิตประจำวันด้วยen_US
Appears in Collections:HUMAN: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610131023-พงศกร เฉลิมชุติเดช.pdf9.45 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.