Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78784
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorคมกฤต เล็กสกุล-
dc.contributor.authorนัทธพงศ์ ยาวิชัยen_US
dc.date.accessioned2023-09-08T09:47:44Z-
dc.date.available2023-09-08T09:47:44Z-
dc.date.issued2021-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78784-
dc.description.abstractThis research aims to study wastewater treatment by Plasma jet RF to be effective enough to improve wastewater quality, by full factorial designs at 2 levels and 3 center points. There are 3 factors studied: 1) the power at 20-30 Watts 2) the flow rate of argon gas at 2-4 L/min and oxygen mixture 1% of argon gas 3) the time of discharged at 10-20 minute and assess the effectiveness of the plasma wastewater treatment system based on the total viable plate count and analyze biological oxygen demand (BOD) and chemical oxygen demand (COD). As a result, the optimal parameter was expose power 20 Watts, argon gas flow rate 4 L/min and oxygen mixture 1% of argon gas and time of discharged at 10 minutes. The optimal parameter can be reducing the total viable plate count to 54.07%en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการปรับปรุงคุณภาพน้ำเสียจากกระบวนการล้างผักในโรงงานด้วยเทคโนโลยีพลาสมาen_US
dc.title.alternativeImproving wastewater quality from vegetable washing process in factory by plasma technologyen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashน้ำเสีย -- การบำบัด-
thailis.controlvocab.thashการจัดการอุตสาหกรรม-
thailis.controlvocab.thashพวยพลาสมา-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบำบัดน้ำเสียด้วยพลาสมาเจ็ทชนิดคลื่นความถี่วิทยุ (Plasma jet RF) ให้มีประสิทธิภาพเพียงพอในการปรับปรุงคุณภาพน้ำเสีย ด้วยการออกแบบการ ทดลองแบบแฟคทอเรียลจำนวนเต็ม (23) ที่จุดกึ่งกลาง 3 จุด โดยมีปัจจัยที่ศึกษาทั้งหมด 3 ปัจจัย ดังนี้ 1) กำลังไฟฟ้าในช่วง 20-30 วัตต์ 2) อัตราการไหลของก๊าซอาร์กอนในช่วง 2-4 ลิตรต่อนาที และผสม ก๊าซออกซิเจนในอัตราร้อยละ 1 ของก๊าซอาร์กอน 3 ระยะเวลาในการดิสชาร์จในช่วง 10-20 นาที และ ประเมินประสิทธิภาพของระบบบำบัดน้ำเสียด้วยวิธีพลาสมาจากปริมาณการลดลงของเชื้อจุลินทรีย์ ทั้งหมด (Total viable plate count) และวิเคราะห์ค่าบีโอดี (Biological oxygen demand) และค่าซีโอดี (Chemical oxygen demand) ซึ่งจากผลการทดลอง พบว่า ที่พารามิเตอร์ที่เหมาะสมที่สุด คือ กำลังไฟฟ้า 20 วัตต์ อัตราการไหลของก๊าซ 4 ลิตรต่อนาที และผสมก๊าซออกซิเจนในอัตราร้อยละ 1 ของก๊าซอาร์กอน และระยะเวลาในการดิสชาร์จ 10 นาที สามารถลดปริมาณเชื้อจุลินทรีย์ทั้งหมดคิด เป็นร้อยละได้ 54.07en_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
630632039 นัทธพงศ์ ยาวิชัย.pdf35.87 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.