Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78761
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประสิทธิ์ ลีปรีชา-
dc.contributor.advisorปีดิเทพ อยู่ยืนยง-
dc.contributor.authorสุทธิชัย เหมือนสุทธิวงษ์en_US
dc.date.accessioned2023-08-30T10:31:22Z-
dc.date.available2023-08-30T10:31:22Z-
dc.date.issued2022-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78761-
dc.description.abstractThis qualitative research aimed to investigate the plan to solve forest fire and haze problems under the concept "Chiang Mai Model'', the measure in managing forest fire and haze prevention, and roles and participation of Mae Hoi village people in forest fire and haze prevention. The data were collected using in-depth interviews of three representatives of the agencies, including Chom Thong District Deputy, Ban Luang Sub-district Municipal Officer, Forest Fire Control Station Officers, and five representatives from Mae Hoi community, including Sub-district Headman, Village Headman, Village Committee, Community Development Volunteer and monks. The findings showed that the" Chiang Mai Model" concept was set up to solve the wildfire and smoke crisis in Chiang Mai in 2021, with a collaboration between government agencies, the local sector, the private sector, and the public sector. This model focuses on Academic Fire Management for the reduction of hotspots from combustion at least 25% participation people in forest fire and haze prevention, and the local government organizations are the main agencies in supporting the people's resources to prevent and solve forest fire and haze prevention problems. Also, Chiang Mai has formulated legal measures to control all types of open-air burning and define fire management areas, as well as giving the policies to each district in Chiang Mai. Inaddition, Chom Thong District organized the training for community leaders about proactive public relations through community voices, wildfire suppression activities, and academic fuel management, and empowered them to appoint their working groups. Thus, they would be able to pass knowledge and policies onto community members. As a result, most of the people in the community showed their full cooperation and- participation because of their belief and faith in community leaders, good relationships in the community, being persuaded by close people, awareness of the public relations problem in the community, and receiving support from outside organizations. After the end of the wildfire season, the relevant departments and community leaders summarized the results. It was found that the hot spots decreased significantly, compared to the Zero Burning policy in 2020 that did not seem to resolve the issue on the spot. Most people remained unaware of the impact. And the measures focused on prevention rather than arresting offenders by Fire Management policy. In addition, the common factor in 2021 was the volatile weather conditions, resulting in pre-season rainfall that was different from the dry weather in 2020. The rapid rainfall has greatly contributed to the reduction of heat points. This has resulted in the successful implementation of forest fire and smog solutions in the form of the "Chiang Mai Model" that successfully achieved the goal of reducing hot spots.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.title“เชียงใหม่โมเดล” กับการป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควันในชุมชนบ้านแม่หอย ตำบลบ้านหลวง อำเภอจอมทอง จังหวดัเชียงใหม่en_US
dc.title.alternative“Chiang Mai Model” on forest fire and haze prevention in Mae Hoi Village, Ban Luang Sub-district, Chom Thong District, Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)-
thailis.controlvocab.thashเศรษฐศาสตร์การเมือง-
thailis.controlvocab.thashไฟป่า -- การป้องกันและควบคุม -- จอมทอง (เชียงใหม่)-
thailis.controlvocab.thashหมอกควัน -- จอมทอง (เชียงใหม่)-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกยาแผนปฏิบัติกรป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป้าและ หมอกควัน รูปแบบใหม่ ภายใต้แนวคิด "เชียงใหม่โมเดล" เพื่อศึกษามาตรการในการจัดการแก้ไข ปัญหาไฟป่าและหมอกควันที่กำหนดโดยหน่วยงานต่างๆ และประชาชนในพื้นที่ชุมชนบ้านแม่ หอย เพื่อศึกษาบทบาทและการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่า และหมอกควัน การศึกษาครั้งนี้เป็นวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก ตัวแทน หน่วยงานและประชาชน ประกอบไปด้วย ปลัดอำเภอจอมทอง เจ้าหน้าที่ทศบาลตำบลบ้านหลวง เจ้าหน้าที่สถานีควบคุมไฟป่าอินทนนท์ กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน กรรมการหมู่บ้าน อาสาสมัครพัฒนา ชุมชน และพระภิกบุสงฆ์ในชุมชน ผลการศึกษาพบว่า แนวคิดเชียงใหม่โมเดล ถูกกำหนดขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหาวิกฤตไฟป้าและ ฝุ่นควันในจังหวัดเชียงใหม่ในปี 2564 ซึ่งเป็นการร่ วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐ ภาคท้องถิ่น ภาคเอกชน และภาคประชาชน ในการร่วมกันแก้ไขปัญหาไฟป้าและหมอกควันในจังหวัดเชียงใหม่ ประกอบด้วย 1) ลดจุดความร้อนและพื้นที่เผาไหม้ไม่ต่ำกว่า 25% 2) ใช้วิธีบริหารจัดการเชื้อเพลิง ตามหลักวิชาการ 3) เน้นการมีส่วนร่วมของประชาชนในการแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน และ 4) องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นหน่วยงานหลักในการสนับสนุนทรัพยากรในการป้องกันและ แก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควันแก่ประชาชน จังหวัดเชียงใหม่ได้กำหนดมาตรการทางกฎหมายในการควบคุมการเผาในที่โล่งทุกชนิด และกำหนดเขตการบริหารจัดการเชื้อเพลิง จากนั้นได้มอบนโขบายไปสู่แต่ละอำเภอในจังหวัด เชียงใหม่ โดยทางอำเภอจอมทอง ได้จัดอบรมผู้นำชุมชนในเรื่องของการดับไฟป้าอย่างถูกวิธี การ บริหารจัดการเชื้อเพลิงตามหลักวิชาการ และมอบอำนาจให้ผู้นำชุมชนสามารถแต่งตั้งคณะทำงาน ขึ้นเองได้ จากนั้นผู้นำชุมชนจะนำความรู้และนโขบายที่ได้รับมอบหมายมาปรับใช้ร่วมกับสมาชิก ในชุมชน ส่วนใหญ่ผู้คนในชุมชนได้ให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี ซึ่งปัจจัยที่มีส่งผลให้ประชาชนเข้า มามีส่วนร่วมนั้นประกอบไปด้วย ความเชื่อและศรัทธาในตัวผู้นำชุมชน การรับรู้ถึงความสัมพันธ์ที่ ดีในชุมชน การ ได้รับชักชวนจากบุคคลใกล้ชิด ความตระหนักรู้ถึงปัญหาที่เกิดขึ้น การประชา สัมพันธ์ในชุมชน และได้รับการสนับสนุนจากองค์กรภายนอก หลังจากฤดูไฟป่าสิ้นสุดลง ทางหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและผู้นำชุมชนได้มีการสรุปผล ดำเนินงานร่วมกัน พบว่าจุดความร้อนได้ลดลงอย่างมากเมื่อเปรียบเทียบกับปี 2563 ที่ผ่านมาซึ่ง นโยบายที่ทางจังหวัดได้กำหนดนั้นตอนนั้นคือ นโยบายห้ามเผา (Zero Burning) ซึ่งปรากฎว่า ล้มเหลวและไม่สามารถแก้ไขปัญหาได้ตรงจุด ผู้คนส่วนใหญ่ยังไม่ตระหนักถึงผลกระทบ เทียบกับ ใน ปี2564 พบว่า จุดความร้อนได้ลดลงอย่างมาก เนื่องจากมาตรการที่ได้เน้นการป้องกันมากกว่า จับกุมผู้กระทำผิด โดยบริหารจัดการเชื้อเพลิง (Fire Management) อีกทั้งปัจจัยร่วมในปี 2564 นั้น สภาพอากาศแปรปรวนส่งผลให้ฝนตกเร็วก่อนฤดู ต่างจากปี 2563 ที่สภาพอากาศแห้งแล้ง ซึ่งการที่ ฝนตกลงมาเร็วนั้นมีส่วนช่วยให้จุดความร้อนลดลงได้อย่างมาก ส่งผลให้เกิดผลสำเร็จของการ ดำเนินการแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควันในรูปแบบ "เชียงใหม่โมเคล" บรรลุผลสำเร็จตาม เป้าหมายลดจุดความร้อนที่ตั้งไว้en_US
Appears in Collections:SOC: Independent Study (IS)



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.