Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78758
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริรัตน์ ปานอุทัย-
dc.contributor.advisorเดชา ทำดี-
dc.contributor.authorภาคิน บุญพิชาชาญen_US
dc.date.accessioned2023-08-30T09:47:55Z-
dc.date.available2023-08-30T09:47:55Z-
dc.date.issued2021-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78758-
dc.description.abstractDependent elders who are proficient in mental health literacy can deal with their own mental health problems and enhance their psychological well-being. The objective of this descriptive correlational study was to study and explore the relationship between mental health literacy and the psychological well-being of dependent elders. The sample was 88 dependent elders residing in the area under the responsibility of Health Promoting Hospitals of Muang district, Phayao province, during June to July 2021. The data were collected using mental health literacy among elders and psychological well-being among elders questionnaires which were tested for validity and reliability. Descriptive statistics and Pearson's product moment correlation coefficient were also used to analyze the data. The results revealed that mental health literacy and psychological well-being were moderate. Furthermore, mental health literacy positively and moderately correlated with psychological well- being at a significant level of p<.001 (r=.457). The results of this study could be used as basic information for health care personnel to plan for psychological well-being promotion among dependent elders.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความรอบรู้ด้านสุขภาพจิตและความผาสุกทางใจในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงen_US
dc.title.alternativeMental health literacy and psychological well-being among dependent eldersen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.thashผู้สูงอายุ -- พะเยา-
thailis.controlvocab.thashผู้สูงอายุในงานสุขภาพจิต-
thailis.controlvocab.thashสุขภาพจิต-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractผู้สูงอายุพึ่งพิงที่มีความรอบรู้ด้านสุขภาพจิตที่ดีจะสามารถจัดการกับปัญหาทางสุขภาพจิตของ ตน และเสริมสร้างความผาสุกทางใจได้ การศึกษาเชิงพรรณนาความสัมพันธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาและหาความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพจิตและความผาสุกทางใจของผู้สูงอายุที่มี ภาวะพึ่งพิงในชุมชนจังหวัดพะเยา กลุ่มตัวอย่างคือผู้สูงอายุพึ่งพิงภายในพื้นที่รับผิดชอบของ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพในเขตอำภอเมือง จังหวัดพะเยา จำนวน 88 ราย เก็บข้อมูลระหว่างเดือน มิถุนายนถึงเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2564 เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามความ รอบรู้ด้านสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ และแบบสอบถามความผาสุกทางใจในผู้สูงอายุที่ผ่านการตรวจสอบ ความตรงและความเชื่อมั่นแล้ว สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือสถิดิเชิงพรรณนาและสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการศึกษาพบว่าความรอบรู้ด้านสุขภาพจิตและความผาสุกทางใจอยู่ในระดับปานกลาง และ ความรอบรู้ด้านสุขภาพจิตมีความสัมพันธ์เชิงบวกในระดับปานกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับ ความผาสุกทางใจ (r = .457, p < .001) ผลการศึกษาครั้งนี้สามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับบุคลากรสุขภาพในการวางแผน การส่งเสริมความผาสุกทางใจในผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิงen_US
Appears in Collections:NURSE: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
621231093 ภาคิน บุญพิชาชาญ.pdf1.69 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.