Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78725
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิชัย ฉัตรทินวัฒน์-
dc.contributor.authorธีรนุช สุรินทร์โทen_US
dc.date.accessioned2023-08-27T07:13:48Z-
dc.date.available2023-08-27T07:13:48Z-
dc.date.issued2023-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78725-
dc.description.abstractThis research studied the development of hot cream with herbs from Ban Pa Puey Thai Massage Community Enterprise, Ban Hong District, Lamphun Province. The community enterprise plans to utilize herbs grown in the community as a key component of the community product, the hot cream with herbs. This research applies the Quality Function Deployment (QFD) concept to study the needs of consumers to develop the hot cream that meets consumer needs, as well as to design production processes for community enterprises. This research started with identifying consumer requirements for hot cream products by using a questionnaire to determine the priority of each factor, both in terms of product characteristics, packaging, and reliability. The target group was collected from 50 customers visiting the massage center and 50 random subject with muscle age symptom. The analysis results of the questionnaire found that the most important concerns of factors were allergies free, skin irritation, relieving muscle pain, and the product identity accordingly. In the process of implementing the concept of QFD, the House of Quality (HOQ), was constructed by converting the consumer requirements obtained from the questionnaire into technical specifications with numerical scale, then putting the priority level of each requirement from the survey or important rating (IMP) into the House of Quality. The research then identified the relationship between each technical specification and the relation between the requirements and the technical specification, and then set the target value, which will be the ingredient of the prototype, that resulting in a mixture of hot cream with herbs products and packaging patterns after development. The results of the study led to the development of the production process. The operational manuals for the community enterprise was initiated. A one lot prototype of the product was tested by a group of consumers. After the experimental design used to optimize the production of the product, it was found that consumer satisfactions were rated with more than 90% for the final product.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการพัฒนาผลิตภัณฑ์และกระบวนการผลิตครีมนวดจากสมุนไพรโดยใช้แนวคิดเทคนิคการกระจายหน้าที่เชิงคุณภาพen_US
dc.title.alternativeProduct and process development of hot cream with herbs using the concept of quality function deploymenten_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashสมุนไพร-
thailis.controlvocab.thashผลิตภัณฑ์สมุนไพร-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการค้นคว้าแบบอิสระฉบับนี้เป็นการพัฒนาผลิตภัณฑ์ครีมนวดจากสมุนไพรของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนนวดแผนไทยบ้านป่าป๋วย อ.บ้านโฮ่ง จ.ลำพูน ทางชุมชนมีแนวคิดที่จะนำสมุนไพรในชุมชนมาเป็นส่วนประกอบหลักของครีมนวดสมุนไพร โดยงานวิจัยนี้ใช้แนวคิดเทคนิคการกระจายหน้าที่เชิงคุณภาพมาประยุกต์ใช้ ศึกษาความต้องการของผู้บริโภค เพื่อให้ได้ครีมนวดจากสมุนไพรที่ตรงต่อความต้องการของผู้บริโภครวมถึงออกแบบกระบวนการผลิตให้กับกลุ่มวิสาหกิจชุมชนให้สามารถผลิตและจัดจำหน่ายได้ งานวิจัยนี้เริ่มจากการหาความต้องการของผู้บริโภคที่มีต่อผลิตภัณฑ์ครีมนวดจากสมุนไพร ใช้แบบสอบถามเพื่อหาระดับความสำคัญในแต่ละปัจจัย ทั้งด้านคุณลักษณะของตัวผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์และความน่าเชื่อถือ โดยกลุ่มเป้าหมายจะแบ่งเป็นลูกค้าที่มาใช้บริการที่ศูนย์นวดจำนวน 50 คนและกลุ่มคนวัยทำงานที่มีอาการปวดเมื่อยจำนวน 50 คน ผลจากแบบสอบถามพบว่าปัจจัยที่มีระดับความสำคัญสูงที่สุดคือ ไม่มีอาการแพ้ระคายเคืองผิว ช่วยบรรเทาอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อและแสดงชื่อผลิตภัณฑ์ตามลำดับ ในขั้นตอนการนำแนวคิดเทคนิคการกระจายหน้าที่เชิงมาประยุกต์ใช้ คือบ้านแห่งคุณภาพโดยเริ่มจากนำความต้องการของผู้บริโภคที่ได้จากแบบสอบถามมาแปลงจากความต้องการของลูกค้าเป็นข้อกำหนดทางเทคนิคที่เป็นข้อมูลในเชิงตัวเลขสามารถวัดได้ แล้วนำค่าระดับความสำคัญของแต่ละความต้องการที่ได้จากการสำรวจระบุลงในบ้านแห่งคุณภาพ จากนั้นหาความสัมพันธ์ระหว่างข้อกำหนดทางเทคนิคแต่ละข้อ และหาความสัมพันธ์ระหว่างความต้องการและข้อกำหนดทางเทคนิค แล้วกำหนดค่าเป้าหมาย ซึ่งค่าเป้าหมายที่ได้จะเป็นส่วนผสมของต้นแบบ จึงทำให้ได้สูตรผสมของผลิตภัณฑ์ครีมนวดจากสมุนไพรและรูปแบบของบรรจุภัณฑ์หลังจากพัฒนา ผลจากการศึกษานำไปสู่การพัฒนากระบวนการผลิต สร้างคู่มือการดำเนินงานให้กับวิสาหกิจชุมชนและสร้างต้นแบบผลิตภัณฑ์จำนวน 1 ล็อตและนำไปทดสอบกับผู้บริโภค โดยหลังจากทดลองผลิตผลิตภัณฑ์ พบว่าผู้บริโภคมีความพึงพอใจโดยรวมต่อผลิตภัณฑ์หลังใช้มากกว่า 90%en_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ธีรนุช สุรินทร์โท 640632040.pdf1.77 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.