Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78713
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorมานพ แก้วโมราเจริญ-
dc.contributor.authorพันธกานต์ ปัญโญกิจen_US
dc.date.accessioned2023-08-26T08:20:14Z-
dc.date.available2023-08-26T08:20:14Z-
dc.date.issued2023-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78713-
dc.description.abstractThe construction detailing drawing still adheres to the 2D format, causing a lot of mistakes in the construction work and often. Therefore, the building information modeling tool was applied to the construction drawing process to make it look like a 3D model in order to study the acceptance of the use of the information model in construction drawings for craftsmen. Objectives: To evaluate the acceptance of changes in the presentation of construction drawings and to compare the costs of the presentation of construction drawings for construction from a 2D system model to a 3D system model, compared with the distance. Time to complete drawing The scope of the study was studied by a team of 11 technicians and workers of Ritphan 2020 Construction Limited Partnership by inquiring with a questionnaire prepared. used to collect information on the use of construction detailing forms; and Apply the Delphi method to analyze the information model used to create a detailed 3D model. 3 times in terms of changing the format of the presentation of the construction details form The benefit of the research is to know the difference in the time spent on drawing of both forms, satisfaction and factors in using the building information model to create construction detail drawings.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleการประเมินการยอมรับในการนำแบบจำลองสารสนเทศอาคารสามมิติมาใช้ในการจัดทำแบบก่อสร้างสำหรับช่างฝีมือen_US
dc.title.alternativeAssessment of three dimensional building information modelling adoption in construction shop drawing for craftsmanen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashแบบจำลองสารสนเทศอาคาร-
thailis.controlvocab.thashอาคาร -- คอมพิวเตอร์ช่วยการออกแบบ-
thailis.controlvocab.thashการก่อสร้าง-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractแบบแสดงรายละเอียดงานก่อสร้างยังคงยึดลักษณะในการใช้งานเป็นรูปแบบ 2 มิติ ทำให้เกิดความผิดพลาดในการดำเนินงานก่อสร้างเป็นอย่างมากและบ่อยครั้ง จึงนำเครื่องมือแบบจำลองสารสนเทศอาคารมาประยุกต์ใช้ในการดำเนินงานเขียนแบบแสดงรายละเอียดก่อสร้างให้มีลักษณะรูปแบบเป็น 3 มิติ เพื่อศึกษาการยอมรับในการนำแบบจำลองสารสนเทศมาใช้ในการทำแบบก่อสร้างสำหรับช่างฝีมือ วัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลการยอมรับในการเปลี่ยนแปลงการนำเสนอแบบแสดงรายละเอียดงานก่อสร้าง และ เปรียบเทียบค่าใช้จ่ายที่ในการนำเสนอแบบแสดงรายละเอียดก่อสร้างงานก่อสร้างจากรูปแบบระบบ 2 มิติ พัฒนาเป็นรูปแบบระบบ 3 มิติ เมื่อเทียบกับระยะเวลาในการเขียนแบบที่แล้วเสร็จ ขอบเขตในการศึกษาได้ศึกษาจากทีมช่างและกรรมกรของห้างหุ้นส่วนจำกัด ฤทธิ์พันธ์ 2020 คอนสตรัคชั่น จำนวน 11 คน โดยการสอบถามด้วยแบบสอบถามที่จัดทำขึ้นมา ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลของการใช้แบบแสดงรายละเอียดงานก่อสร้าง และ ประยุกต์ใช้วิธีเดลฟายในการวิเคราะห์การนำแบบจำลองสารสนเทศมาใช้ในการทำแบบแสดงรายละเอียดรูปแบบ 3 มิติ ผลจากการใช้วิธีเดลฟายในการวิเคราะห์จะทำให้ผลมีความแม่นยำในการสอบถามความคิดเห็นจากผู้เชี่ยวชาญ 3 ครั้ง ในเรื่องของการปรับเปลี่ยนรูปแบบการนำเสนอแบบแสดงรายละเอียดงานก่อสร้าง โดยประโยชน์ของการวิจัยทำให้ทราบถึงความแตกต่างทางด้านระยะเวลาที่ใช้ในการเขียนแบบของทั้ง 2 รูปแบบ , ความพึงพอใจและปัจจัยในการใช้แบบจำลองสารสนเทศอาคารมาใช้ทำแบบแสดงรายละเอียดงานก่อสร้างen_US
Appears in Collections:ENG: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610632006 พันธกานต์ ปัญโญกิจ.pdf1.98 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.