Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78625
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเริงชัย ตันสุชาติ-
dc.contributor.advisorปิยะลักษณ์พุทธวงศ-
dc.contributor.advisorนฉัตร์ฑพงษ์ แก้วสมพงษ์-
dc.contributor.authorภาณุวัฒน์ ศรีคุ้มen_US
dc.date.accessioned2023-08-08T10:21:11Z-
dc.date.available2023-08-08T10:21:11Z-
dc.date.issued2022-02-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78625-
dc.description.abstractCrop insurance is insurance that provides coverage for damage or loss to insured crops caused by the perils specified in the policy. Insurance in agriculture is directly aligned with SDGI (No Poverty) and SDG13 (Climate Action). By stabilizing farm incomes through insurance payofi's, it can help in reducing poverty and promoting climate initiatives. However, crop insurance is not as successful in Thailand as it should be. Only 1,053 farmers or 2.15% of total in-season longan farmers participated in this crop insurance. The objectives are to study the willingness to pay (WTP) for longan crop insurance and factors affecting the WTP for longan crop insurance in Chiang Mai province. The data were collected from 400 longan farmers in Chiang Mai by using questionnaires. First, the average of WTP for longan crop insurance premium value was 198.55 baht/rai/year whereas the current premium of insurance company was 300 baht/rai/year. The factors affecting the WTP the longan insurance premium were longan planting area, proportion of non-agricultural income on total income, income from longan planting, farmers' grouping, satisfaction in the amount of coverage, and loss from natural disasters affecting longan production. Therefore, the government should publicize and educate farmers on the benefits of crop insurance. The greater number of participants will lead to lower insurance premiums and incentivize new farmers to join the program.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความเต็มใจจ่ายการประกันภัยลำไยของเกษตรกรในจังหวัดเชียงใหม่en_US
dc.title.alternativeFarmer’s willingness to pay for longan insurance in Chiang Mai Provinceen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashเกษตรกร -- เชียงใหม่-
thailis.controlvocab.thashประกันภัย-
thailis.controlvocab.thashความเต็มใจจ่าย-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการประกันภัยพืชผลเป็นการประกันภัยที่ให้ความคุ้มครองความเสียหายต่อพืชผลที่เอา ประกันภัยที่เกิดจากภัยที่ระบุไว้ในกรมธรรม์ การประกันภัยในการเกษตรมีความสอดคล้องกับ SDGI (No Poverty) และ SDG13 (Climate Action) การ รักษาเสถียรภาพทางด้านรายได้ผ่านการ จ่ายเงิน ประกัน สามารถช่วยลดความยากจนและส่งเสริมการคิดริเริ่มด้านสภาพอากาศ อย่างไรก็ตามการ ประกันภัยพืชผลในประเทศไทยไม่ประสบความสำเร็จเท่าที่ควร มีเกษตรกรเพียง 1,053 ราย หรือร้อย ละ 2.15 ของเกษตรกรผู้ปลูกลำไย ที่เข้าร่วมโครงการประกันภัยพืชผลในครั้งนี้ โดยการศึกษาในครั้ง นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเต็มใจจ่าย (WTP) ของประกันภัยลำไยและปัจจัยที่มีผลกระทบต่อ ความเต็มใจจ่ายของประกันภัยลำไยในจังหวัดเชียงใหม่ โดยรวบรวมข้อมูลจากเกษตรกรผู้ปลูกลำไย 400 รายใน จังหวัดเชียงใหม่ โดยใช้แบบสอบถาม พบว่าความเต็มใจจ่ายค่าเบี้ยประกันภัยลำไยเฉลี่ย อยู่ที่ 198.55 บาทต่อไร่ต่อปี ในขณะที่ค่าบี้ยประกันภัยปัจจุบันของบริษัทประกันภัยอยู่ที่ 300 บาทต่อ ไร่ต่อปี และปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความเต็มใจ จ่ายค่าเบี้ยประกัน ได้แก่ พื้นที่ปลูกลำไย สัดส่วน รายได้นอกภาคเกษตรต่อรายได้รวม รายได้จากการปลูกลำไย การจัดกลุ่มของเกษตรกร ความพึงพอ ในใจวงเงินคุ้มครอง และความสูญเสียจากภัยธรรมชาติที่ส่งผลต่อการผลิตลำไย ดังนั้นรัฐบาลควร ประชาสัมพันธ์และ ให้ความรู้เกษตรกรเกี่ยวกับประ โยชน์ของการประกันพืชผล และผู้เข้าร่วม โครงการจำนวนมากขึ้นจะทำให้เบี้ยประกันลดลงและจูงใจเกษตรกรรายใหม่เข้าร่วมโครงการมากขึ้นen_US
Appears in Collections:ECON: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611632012 ภาณุวัฒน์ ศรีคุ้ม.pdf1.48 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.