Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78607
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorSuraphol Sreshthaputra-
dc.contributor.advisorBudsara Limnirankul-
dc.contributor.advisorJuthathip Chalermphol-
dc.contributor.authorSupannika Lursinsapen_US
dc.date.accessioned2023-08-04T00:32:52Z-
dc.date.available2023-08-04T00:32:52Z-
dc.date.issued2023-05-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78607-
dc.description.abstractThe objectives of this research were to: (1) study the situation of inheritance of agricultural career of farmers’ heirs in the upper northern region (2) investigate the factors affecting the passing of agricultural career onto the farmers’ heirs and (3) propose an agricultural extension scheme to encourage the farmer’s heirs to inherit the agricultural career. This research deployed a mixed-methods explanatory sequential design. The quantitative research was conducted by interviewing 519 sampled farmers’ heirs in the upper northern region. The collected data were analyzed by using descriptive statistics and binary logistic regression analysis. The qualitative research was conducted by interviewing specific targeted 15 farmers’ heirs and 15 farmer families’ heads. The data were analyzed by the method of content analysis. The study found that 70.30% of farmers’ heirs willingly inherit the farming career. Among these heirs, it was found that 47.40% of them decided to pursue only farming career, 40.30% of them pursuing farming career as their sidelines, and 12.30 of them pursue the farming career as additional main career. For the rest of heirs, 22.20 of them have not yet decided to inherit the farming career but 7.50% of them definitely decided not to inherit the farming career. The study also found that there were 11 relevant impacting factors, 10 positive factors and one negative factor, with a statistical significance level of 0.05. The positive factors are gender, age, marital status, family income, number of times to receive the advice from the agricultural extension officers, attitude towards farming career, family’s farming land size, size of farm land locating in the rural area, variety of family’s farming productions, and amount of family’s farming equipment. One negative factor is the number of family members. The study purposed two levels to encourage the farming career inheritance of farmers’ heirs. The first level concerns the encouragement for family level. This consists of the following procedures: (1) teaching how to do agriculture, (2) practical training in agricultural areas, (3) encouraging farmers’ heirs to realize the value of farming career, (4) persuading the heirs to participate in planning all management steps of farming, (5) giving the family’s hereditament to the heirs, (6) encouraging the heirs to have a preliminary career to earn some income to fund the farming career. The second level directly focuses on the heirs. The procedures are: (1) building warmth in the family as a sequel of taking care the parents, (2) making the family to be ready for farming or having a family’s hereditament as the asset, (3) building the perception of farming career as an independent career, being one’s own boss, and having a simple life, (4) encouraging the heirs to return to rural community where having a low cost of living, and (5) increasing the proficiency of farming career success.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleAgricultural extension scheme for inheritance of agricultural career of farmers’ heirs in the Upper Northern Region of Thailanden_US
dc.title.alternativeแนวทางส่งเสริมการสืบทอดอาชีพเกษตรกรรมของทายาทเกษตรกร ในเขตภาคเหนือตอนบนของประเทศไทยen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshFarmers -- Thailand, Northern-
thailis.controlvocab.lcshAgriculture -- Thailand, Northern-
thailis.controlvocab.lcshOccupations -- Thailand, Northern-
thesis.degreedoctoralen_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาการสืบทอดอาชีพเกษตรกรรมของทายาทเกษตรกร (2) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการสืบทอดอาชีพเกษตรกรรมของทายาทเกษตรกร และ (3) ศึกษาแนวทางในการส่งเสริมให้ทายาทเกษตรกรสืบทอดอาชีพเกษตรกรรม ดำเนินการวิจัยแบบผสม ประเภทลำดับ เชิงอธิบาย โดยการวิจัยเชิงปริมาณเป็นการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างทายาทเกษตรกรในพื้นที่ภาคเหนือตอนบน จำนวน 519 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนา และการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกส์แบบทวิ ในส่วนของวิจัยเชิงคุณภาพเป็นการสัมภาษณ์เชิงลึกกับกลุ่มเป้าหมายที่เป็นทายาทเกษตรกร จำนวน 15 คน และหัวหน้าครัวเรือนเกษตรกร จำนวน 15 คน ซึ่งวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาพบว่า ทายาทเกษตรกรเลือกสืบทอดอาชีพเกษตรกรรม ร้อยละ 70.30 โดยทายาทเกษตรกรที่สืบทอดอาชีพเกษตรกรรมเพียงอย่างเดียว คิดเป็นร้อยละ 47.40 รองลงมาคือ ทายาทที่สืบทอดอาชีพเกษตรกรรมเป็นอาชีพเสริม คิดเป็นร้อยละ 40.30 และร้อยละ 12.30 เป็นทายาทเกษตรกร ที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นอาชีพหลักควบคู่กับประกอบอาชีพอื่น ทั้งนี้พบว่า มีทายาทเกษตรกรร้อยละ 22.20 ที่ไม่แน่ใจว่าจะสืบทอดอาชีพเกษตรกรรม และมีเพียงร้อยละ 7.50 ที่ไม่สืบทอดอาชีพเกษตรกรรม โดยมีปัจจัยที่มีผลต่อการสืบทอดอาชีพเกษตรกรรมของทายาทเกษตรกรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 มีจำนวนทั้งหมด 11 ตัวแปร เป็นตัวแปรเชิงบวก 10 ตัวแปร ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพทางการสมรส รายได้ครัวเรือน จำนวนการได้รับคำแนะนำจากเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร ทัศนคติต่อการประกอบอาชีพเกษตรกรรม ขนาดพื้นที่ทำการเกษตรของครอบครัว ขนาดพื้นที่การเกษตรที่ตั้งอยู่ในเขตชนบท ความหลากหลายของการผลิตทางการเกษตรของครอบครัว และจำนวนเครื่องจักรกลทางการเกษตรของครอบครัว ในขณะที่ตัวแปรเชิงลบมี 1 ตัวแปร ได้แก่ จำนวนสมาชิกในครัวเรือนเกษตรกร ผลการวิจัยนี้เสนอแนวทางในการส่งเสริมให้ทายาทเกษตรกรสืบทอดอาชีพเกษตรกรรม 2 ระดับคือ ระดับที่ 1 การส่งเสริมในระดับครัวเรือนเกษตรกร ได้แก่ (1) การสอนวิธีการทำการเกษตร (2) การฝึกปฏิบัติจริงในพื้นที่ทำการเกษตร (3) การสนับสนุนให้ทายาทมองเห็นคุณค่าของอาชีพเกษตรกรรม (4) การให้ทายาทมีส่วนร่วมในการวางแผนการจัดการในทุกขั้นตอนของการทำการเกษตร (5) การส่งมอบมรดกทางการเกษตรสู่ทายาท และ (6) การให้ทายาทประกอบอาชีพอื่นก่อนเพื่อหาทุนมาใช้ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และระดับที่ 2 คือ การส่งเสริมในระดับทายาทเกษตรกร ได้แก่ (1) การสร้างความอบอุ่นในครอบครัวจากการได้ดูแลบิดามารดา (2) การสร้างครอบครัวให้มีความพร้อมในการทำการเกษตรหรือมีมรดกจากครอบครัว เป็นต้นทุน (3) การสร้างการรับรู้ต่ออาชีพเกษตรกรรมในฐานะเป็นอาชีพที่อิสระเป็นนายของตนเอง และมีชีวิตที่เรียบง่าย (4) การส่งเสริมการกลับคืนสู่ชุมชนท้องถิ่นที่มีค่าครองชีพต่ำ และ (5) การเพิ่มประสิทธิภาพการประกอบอาชีพเกษตรกรรมให้ประสบความสำเร็จen_US
Appears in Collections:AGRI: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
610851008-SUPANNIKA LURSINSAP.pdf11.27 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.