Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78561
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorKriangkrai Thongkorn-
dc.contributor.advisorKannika Na Lampang-
dc.contributor.advisorRaktham Mektrirat-
dc.contributor.advisorNattakarn Awaiwanont-
dc.contributor.authorNatcha Chawnanen_US
dc.date.accessioned2023-07-23T11:32:48Z-
dc.date.available2023-07-23T11:32:48Z-
dc.date.issued2021-09-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78561-
dc.description.abstractThis clinical study compared the effects of amoxicillin-clavulanate regimen patterns in dental extraction surgery of canine periodontitis stage 3 or 4. A total of 69 dogs participated in this study. They were diagnosed by the Dental Clinic Unit of Small Animal Hospital, Faculty of Veterinary Medicine, Chiang Mai University, and classified stages follow American Veterinary Dental College criteria. They were appraised their health condition by performing a physical examination, complete blood count, blood biochemistry, and chest radiography to evaluate the risks of anesthesia by the criteria of the American Society of Anesthesiologists (ASA). The dogs that enrolled in this study were healthy status. If they had a systemic disease or score of ASA more than 2, they were excluded from this study. All the dogs who participated were divided into three groups; group A (n=22) was a control group that had not received any antibiotics. Group B(n=25), amoxicillin-clavulanate 15 mg/kg was administered intravenously both 30 minutes before surgery and prescribed orally seven days postoperatively. In group C (n=22), the dogs received a single dose of amoxicillin- clavulanate 15 mg/kg intravenously 30 minutes before surgery. All of them gained oral carprofen to control inflammation and reduce pain for five days after tooth extraction. Postoperative complications were followed up the clinical sign of appetite, oral pain, bleeding, fever, and adverse drug effect by a call to the owner on the 1st, 3rd, and 5th postoperative days. When cultured and tested for antibiotic sensitivity in the case of a severe dental socket infection or root abscess, it was found that the main causative bacteria were Pseudomonas aeruginosa (33.33%), followed by Escherichia coli (17.46%), and Klebsiella pneumoniae (12.70%), respectively. The antibiotic susceptibility test part of amoxicillin-clavulanate was susceptible to 42.85%. Nonetheless, fluoroquinolone and aminoglycosides were more susceptible than penicillin and beta-lactamase groups. For instance, the susceptibility rate of gentamicin was 87.18%, enrofloxacin was 75.41%, and norfloxacin was 73.08%. Therefore, antibiotic use should be considered based on the antimicrobial susceptibility testing results to reduce the increased antibiotic resistance problems.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleComparison of treatments with and without amoxicillin-clavulanate in canine dental extractionen_US
dc.title.alternativeการเปรียบเทียบการรักษาแบบใช้และไม่ใช้ยาอะม๊อกซีซิลิน-คลาวูลาเนทในการถอนฟันในสุนัขen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshAmoxicillin-
thailis.controlvocab.lcshDogs -- Diseases-
thailis.controlvocab.lcshPeriodontics-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาเชิงคลินิกเปรียบเทียบผลของรูปแบบการใช้ยาอะม็อกซีซิลิน-คลาวูลาเนท ในการ ผ่าตัดถอนฟันสุนัขโรคปริทันต์ระดับ 3 และ 4 จัดแบ่งระดับตามเกณฑ์ของสมาคมทันตกรรม สัตวแพทย์อเมริกัน ทำการศึกษาในสุนัขสุขภาพแข็งแรงจำนวนทั้งหมด 69 ตัว โดยสุนัขได้รับการ ตรวจประเมินสภาวะสุขภาพ โดยการตรวจร่างกายเบื้องต้น ความสมบูรณ์ของเม็คเลือด ค่าชีวเคมีในเลือด รวมทั้งภาพรังสีช่องอกเพื่อประเมินความเสี่ยงของการวางยาสลบตามเกณฑ์ของ สมาคมวิสัญญีแพทย์แห่งอเมริกา สุนัขที่เข้าร่วมในการศึกษาจะถูกแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มเอ จำนวน 22 ตัว คือสุนัขที่ไม่ได้รับยาปฏิชีวนะในการผ่าตัดถอนฟัน กลุ่มบี จำนวน 25 ตัว คือสุนัขที่ ได้รับยาอะม็อกซีซิลิน-คลาวลาเนทขนาด 15 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ทั้งก่อนและหลังการผ่าตัดเป็น ระยะเวลา ๆ วัน และกลุ่มที่ 3 จำนวน 22ตัวคือสุนัขที่ได้รับยาอะม๊อกซีซิลิน - คลาวูลาเนทขนาด 15 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ก่อนการผ่าตัดถอนฟัน 30 นาที สุนัขทั้งหมดจะได้รับยา คาร์โปรเฟนเพื่อควบคุมการอักเสบหลังการถอนฟันเป็นระยะเวลา วัน สุนัขได้รับการติดตามข้อ แทรกซ้อนภายหลังการผ่าตัดเช่น ภาวะปวดไข้ในวันที่ 1 3 และ 5 หลังการผ่าตัด รวมทั้งประเมินการ หายของแผลและการติดเชื้อเฉพาะที่ในวันที่ 7 หลังการผ่าตัด จากผลการศึกษาพบว่าสุนัขที่เกิดโรคปริ ทันต์ระดับ 3 และ 4 ผลการศึกษาเปรียบเทียบรูปแบบการใช้ยาปฏิชีวนะอะม๊อกซีซิลิน-คลาวูลาเนทต่อ การหายของแผลหลังการถอนฟันทั้งเทคนิคแบบปิดและผ่าดัดเปิดเหงือกใน 1 สัปดาห์หลังการผ่าตัด นั้นพบว่าให้ผลไม่แตกต่งกัน อย่างไรก็ตามพบว่าเทนิดของการถอนฟันแบบเปิดนั้นมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญต่อการหายของแผลรวมทั้งระดับของความเจ็บปวดที่สูงกว่าการถอนฟันแบบปิด รูปแบบการใช้ยาปฏิชีวนะอะม๊อกซีซิลิน-คลาวลาเนทมีผลต่อการหายของแผลหลังการถอนฟันอย่าง ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติและมีผลในการลดการเกิดข้อแทรกซ้อนและการติดเชื้อเฉพาะที่ภายหลังการ ผ่าตัดถอนฟันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ ดังนั้นจึงไม่มีความจำเป็นในการจ่ายยาปฏิชีวนะในสัตว์ สุขภาพแข็งแรงที่เข้ารับการผ่าตัดถอนฟัน โดยในกรณีของรากฟันที่มีการติดเชื้อรุนแรงหรือมีการเกิด ฝึบริเวณรากฟัน เมื่อทำการเพาะเชื้อและทคสอบความไวยาปฏิชีวนะนั้น พบว่าเชื้อแบคที่เรียที่เป็น สาเหตุหลักได้แก่ เชื้อ Pseudomonas aeriginosa คิดเป็นร้อยละ 33.33 ตามด้วย Escherichia coli คิด เป็นร้อยละ 17.46 และ Klebsiella pneumoniae คิดเป็นร้อยละ 12.70 ตามลำดับ ในส่วนของผลการ ทดสอบความไวยาปฏิชีวนะในกรณีที่มีการติดเชื้อของบริเวณรากฟันรุนแรงนั้นพบว่าโดยรวมมีความ ไวต่อยาปฏิชีวนะของยาอะมัอกชีซิลิน-คลาวลาเนทที่นิยมใช้เป็นยาปฏิชีวนะเชิงป้องกันการติดเชื้อ ก่อนการผ่าตัดเพียงร้อยละ 42.85 ในขณะที่ยากลุ่มฟลูออโรควิโนโลนและอะมิโนไกลโกไซด์นั้นมี ความไวต่อยาปฏิชีวนะมากกว่ายากลุ่มเพนนิซิลินและเบด้า แลคตาเมส ยกตัวอย่างเช่น เจนตามัยซิน ร้อยละ 87.18 เอนโรฟล๊อกซาซิน ร้อยละ 75.41 และนอร์ฟล๊อกซาซิน ร้อยละ 73.08 ดังนั้นการใช้ยา ปฏิชีวนะควรพิจารณาตามผลการทดสอบความไวต่อยาปฏิชีวนะen_US
Appears in Collections:VET: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611435907 ณัชชา ชาวนาน.pdf2.12 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.