Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78560
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorChaleamchat Somgird-
dc.contributor.advisorChatchote Thitaram-
dc.contributor.advisorVeerasak Punyapornwithaya-
dc.contributor.authorKhajohnpat Boonpraserten_US
dc.date.accessioned2023-07-23T10:57:10Z-
dc.date.available2023-07-23T10:57:10Z-
dc.date.issued2021-10-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78560-
dc.description.abstractElephant endotheliotropic herpesvirus hemorrhagic disease (EEHV-HD) is a highly virulent disease that causes severe hemorrhage and sudden death in young Asian elephant calves. So far, epidemiological data and risk factors in Thailand related to EEHV-HD development are scarce and require additional studies to obtain a better understanding and further information on this disease. In this study, we report the demography, disease characteristics and mortality rate of ss elephants with confirmed EEHV-HD between January 2006 and August 201s using retrospective data subjected to survival analysis. Median age of EEHV presentation was 2.5 years, and the mortality rate was 68.97 % with a median survival time of 36 hours. The hazard ratio analysis identified application of medical procedures and antiviral medications as significant factors correlated to the risk of death. Moreover, change in hematology profiles is one indicator of infection for carly diagnosis and disease monitoring in suspected calves before clinical signs appear; however, to be effective, individual baselines and age-matched reference values are needed. Stress has been speculated to be a factor in clinical EEHV cases, but relationships have not been demonstrated empirically. This study evaluated blood hematology and several stress response markers salivary cortisol, fecal glucocorticoid metabolites (FGM),salivary immunoglobulin A (SIgA) and fecal IgA (FlgA) in samples collected for a year from three healthy calves with no prior EEHV history (non-EEHV) and six that had previously been infected with EEHV, developed clinical signs, and survived (prior- EEHV). One of those calves became re-infected, developed HD, and died during the study period. Hematology values between non-EEHV and prior-EEHV elephants were not different and within published reference ranges. The one clinical EEHV-HD case exhibited lymphocytopenia, monocytopenia, and thrombocytopenia, as documented previously. Concentrations of salivary cortisol, FGM, SIgA, and FIgA were variable and showed seasonal differences, but no relationships to EEHV status. Thus, in this preliminary study, while hematology was informative, none of the stress-response measures were predictive of EEHV status. Lastly, results from this study indicate a need to focus on EEHV monitoring efforts of young elephants and to follow current protocols that advise starting treatments before clinical signs appear might be able to be reduced loss in the young elephant population.en_US
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChiang Mai : Graduate School, Chiang Mai Universityen_US
dc.titleBioparameters consistency of elephant endotheliotropic herpesvirus infection in captive asian elephants (elephas maximus) in Thailanden_US
dc.title.alternativeความสอดคล้องของตัวแปรทางชีวภาพในการติดเชื้อเฮอร์ปีส์ไวรัสในช้างเลี้ยงเอเชีย (Elephas maximus) ในประเทศไทยen_US
dc.typeThesis
thailis.controlvocab.lcshHerpesvirus diseases-
thailis.controlvocab.lcshElephants-
thailis.controlvocab.lcshVeterinary epidemiology-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractเฮอร์ปีส์ไวรัสเป็น โรคที่มีความรุนแรงสูง รวมถึงเป็นสาเหตุให้เกิดเลือดออกทั่วร่างกายและ ตายอย่างรวดเร็วในลูกช้างเลี้ยงพันธุ์เอเชีย ปัจจุบันการศึกษาข้อมูลทางด้านระบาดวิทยาของประเทศ ไทยเพื่อวิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดการแสดงอาการของโรคเฮอร์ปีส์ในช้างยังมีอยู่น้อย งานวิจัย ชิ้นนี้จึงมีเป้าประสงค์ในการวิเคราะห์ข้อมูลทางระบาดวิทยาเพื่อระบุและจำแนกปัจจัยเสี่ยงที่เกี่ยวข้อง กับการแสดงอาการของโรคนี้ โดยใช้ข้อมูลจากรายงานและบันทึกการรักษาช้างที่ติดเชื้อโรคนี้ ย้อนหลังระหว่างปี พ.ศ. 2349 ถึง 2561 จากการวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้แบบจำลองการวิเคราะห์ระยะ ปลอดเหตุการณ์มาประยุกต์ใช้เพื่อหาระยะการอยู่รอดและปัจจัยเสี่ยงของช้างที่แสดงอาการของโรค เฮอร์ปีส์ การศึกษาครั้งนี้พบว่ามีช้างจำนาน 58 เชือกได้รับการตรวจยืนยันการติดเชื้อเฮอร์ปีส์ไวรัส โดยอายุเฉลี่ยของช้างที่เสี่ยงต่อการเกิด โรคคือ 2.5 ปี และมีอัตราการตายของช้างที่ร้อยละ 68.97 ค่ามัธยฐานระยะปลอดเหตุการณ์ที่ 36 ชั่วโมงหลัง และยังพบว่าวิธีการรักษาและชนิดของยาต้านไวรัส เป็นปัจจัยอันตรายที่ทำให้ช้างเสียชีวิตอย่างมีนัยสำคัญ นอกจากนี้การศึกษาครั้งนี้ยังได้ทดลองใช้ตัวบ่งขี้ทางชีวภาพในการตรวจสอบและประเมิน ปัจจัยความเครียดที่มีส่วนร่วมทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของค่าโลหิตวิทยาและการแสดงอาการของ โรค จากการศึกษาพบว่า การเปลี่ยนแปลงของค่าโลหิตวิทยาเป็นหนึ่งในตัวบ่งชี้ที่สำคัญของการ วินิจฉัยและการเฝ้าติดตามการของการติดเชื้อในลูกช้างก่อนที่จะแสดงอาการทางคลินิก อย่างไรก็ตาม ค่าโลหิตวิทยาสำหรับอ้างอิงควรเป็นเฉพาะตัวและอยู่ในช่วงอายุเดียวกันเพื่อทำให้การวินิจฉัยและ เปรียบเทียบมีความถูกต้องมากขึ้น นอกจากนี้ความเครียดอาจจะเป็นปัจจัยที่ทำให้เกิดการแสดงอาการ ทางคลินิกของเฮอร์ปีไวรัสในช้าง แต่ทั้งนี้ยังไม่มีหลักฐานที่พิสูจน์เชิงประจักษ์ถึงความสัมพันธ์ของปัจจัยความเครียดและการแสดงอาการทางคลินิก การศึกษานี้ได้ทำการประเมินค่าโลหิตวิทยาและ ตัวชี้วัดความเครียดได้แก่ 1) คอร์ติซอลในน้ำลาย 2) กลูโคคอร์ติคอยเมตาบอลิซึมในอุจจาระ รวมถึง 3)อิมมูนโนโกลบูลิน เอ ในน้ำลายและอุจาระ เป็นเวลา 1 ปี จาก ลูกช้าง 3 เชือกที่ไม่เคยติดเชื้อเฮอร์ ปีส์ไวรัสและลูกช้าง 6 เชือกที่เคยมีประวัติการติดเชื้อและแสดงอาการของโรคเฮอร์ปีส์ไวรัส ผล การศึกษาพบว่ามีช้าง 1 เชือกที่เคยมีประวัติการติดเชื้อแบบแสดงอาการ ได้กลับมาแสดงอาการอีกครั้ง และเสียชีวิตในระหว่างการศึกษา ค่าโลหิตวิทยาของกลุ่มที่ไม่เคยติดเชื้อและกลุ่มที่เคยติดเชื้อแบบ แสดงอาการไม่มีความแตกต่างกัน ช้างที่เสียชีวิตพบว่ามีภาวะลิมโฟไซโตพีเนีย โมโนไซโตพีเนีย และทรอมโบไซโตพีเนีย เหมือนกับรายงานอื่นที่เคยมีการศึกษามาก่อน ความเข้มข้นของคอร์ติซอล ในน้ำลาย กลูโคคอร์ติคอยเมตาบอลิซึมในอุจจาระ รวมถึงอิมมูนโนโกลบูลิน เอ ในน้ำลายและ อุจจาระมีการแปลผันตามฤดูกาลอย่างมีนัยสำคัญ แต่ไม่พบความแปรผันระหว่างกลุ่มที่ไม่เคยติดเชื้อ และเคยติดเชื้อแบบแสดงอาการ ทั้งนี้ผลจากการศึกษานี้ทำให้ทราบถึงความสำคัญของการ เปลี่ยนแปลงทางโลหิตวิทยาของการติดเชื้อเฮอร์ปีส์ไรัสซึ่งเป็นประ โยชน์ในการวินิจฉัยโรค แต่ยัง ไม่สามารถสรุปถึงความสัมพันธ์ของปัจจัยความเครียดและการแสดงอาการทางคลินิกของการติดเชื้อ เฮอร์ปีไรรัสได้ในการศึกษานี้en_US
Appears in Collections:VET: Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
611435904 ขจรพัฒน์ บุญประเสริฐ.pdf2.82 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.