Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78478
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรวี ลงกานี-
dc.contributor.authorศดานันท์ ลิมปานุวัฒน์en_US
dc.date.accessioned2023-07-13T00:48:09Z-
dc.date.available2023-07-13T00:48:09Z-
dc.date.issued2023-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78478-
dc.description.abstractThis study aims to examine the impact of the credit rating announcement of banks in developing markets within the ASEAN Plus Three region on the stock returns, particularly focusing on stock within the financial industry, especially banking stocks. This is because bank stocks are considered large-cap stocks with a significant Market Cap. They also provide regular dividend payments, making them reliable and consistent stocks in terms of generating returns. Consequently, when factors affect bank stocks, the impact often extends to stocks in other industries as well. The credit rating announcement serves as an analytical tool for evaluating the overall picture of a bank, as assigned by rating agencies. The credit rating should correspond to the returns. If a rating agency announces an increased credit rating, the stock returns should be affected, influencing the investment decisions of investors in a positive manner. Conversely, if the credit rating decreases, the returns on the stock should also decline. In this study, the efficient market hypothesis will be employed, specifically the semi-strong form market efficiency, following Fama's theory of capital market efficiency. The event study approach will be utilized, focusing on abnormal returns and calculating the Cumulative Abnormal Return to analyze the abnormal return factors. From the study results, it was found that if we separate the analysis into increasing and decreasing trends of the credibility ranking of banks in the ASEAN Plus Three group, the increase in credit rating does not have abnormal cumulative returns before, during, and after the ranking changes. However, it was found that the period of announcement of a decrease in credit rating of banks resulted in significant abnormal returns. Furthermore, based on this research, if there are changes in credit rating by dividing the countries into developing and developed countries and considering all countries together, including both decreasing and increasing ranking events, it will lead to significant abnormal returns in the period before the announcement of credit rating from -60 to -1. This indicates that investors already have advance predictions because there is information available beforehand, such as the financial statements of the banks. Generally, companies often use such data to complement the credibility ranking of banken_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.subjectอันดับความน่าเชื่อถือ ธนาคาร ผลตอบแทน อาเซียน อันดับความน่าเชื่อถือของธนาคารen_US
dc.subjectCredit rating Bank Return ASEAN Bank ratingen_US
dc.titleผลกระทบของการประกาศเปลี่ยนแปลงอันดับความน่าเชื่อถือต่อผลตอบแทนของหลักทรัพย์ในหมวดธุรกิจธนาคารของตลาดหลักทรัพย์ในกลุ่มอาเซียนen_US
dc.title.alternativeEffect of rating change announcement on returns of stocks in the banking sector of ASEAN Stock Marketsen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashหลักทรัพย์-
thailis.controlvocab.thashตลาดหลักทรัพย์-
thailis.controlvocab.thashธนาคารและการธนาคาร-
thailis.controlvocab.thashหุ้นและการเล่นหุ้น-
thailis.controlvocab.thashกลุ่มประเทศอาเซียน-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ศึกษาการประกาศความน่าเชื่อถือของธนาคารในกลุ่มประเทศตลาดกำลังพัฒนาในกลุ่มประเทศอาเซียนว่าจะส่งผลกระทบอย่างไรกับผลตอบแทนของราคาหลักทรัพย์ การเลือกหลักทรัพย์ที่อยู่ในอุตสาหกรรมการเงินโดยเฉพาะธนาคาร เนื่องจากหุ้นธนาคารถือเป็นหุ้นที่มีมูลค่าตลาดขนาดใหญ่ ยังมีการจ่ายปันผลอย่างสม่ำเสมอ ทำให้หุ้นกลุ่มนี้ถือได้ว่าเป็นหุ้นที่มีความมั่นคงในระดับสูงและสร้างผลตอบแทนได้ต่อเนื่อง ส่งผลให้เมื่อมีปัจจัยที่มากระทบหุ้นกลุ่มธนาคาร ผลกระทบมักส่งต่อไปยังหุ้นในกลุ่มอุตสาหกรรมอื่น ๆ อีกด้วย ส่วนการประกาศความน่าเชื่อถือจะเป็นส่วนช่วยในการวิเคราะห์ภาพรวมของธนาคารที่บริษัทจัดอันดับให้คะแนนไว้ ซึ่งผลการจัดอันดับความน่าเชื่อถือของบริษัทจัดอันดับควรจะมีผลสอดคล้องกับผลตอบแทน ถ้าบริษัทประกาศความน่าเชื่อถือเพิ่มขึ้นผลตอบแทนของหลักทรัพย์ควรจะมีผลต่อการตัดสินใจของนักลุงทุนที่เพิ่มขึ้น ในทางตรงกันข้าม หากบริษัทจัดอันดับความน่าเชื่อถือจัดอันดับความน่าเชื่อของธนาคารลดลงผลตอบแทนของหลักทรัพย์ก็ควรจะลดลงเช่นกัน ในการศึกษานี้จะใช้สมมติฐานตลาดมีประสิทธิภาพในระดับกลาง ตามทฤษฎีประสิทธิภาพของตลาดทุนโดยจะศึกษาแบบการศึกษาเหตุการณ์ ซึ่งดูจากปัจจัยของผลตอบแทนผิดปกติและทำการหาผลตอบแทนเฉลี่ยผิดปกติเฉลี่ยสะสม จากผลการศึกษาพบว่า ถ้าหากแยกการวิเคราะห์เป็นการเพิ่มขึ้นและการลดลงของอันดับความน่าเชื่อถือของธนาคารในกลุ่มประเทศอาเซียนบวกสาม การเพิ่มขึ้นของการจัดอันดับความน่าเชื่อถือจะไม่มีผลตอบแทนผิดปกติสะสมทั้งช่วงก่อน ระหว่าง และหลังการเปลี่ยนแปลงอันดับความน่าเชื่อถือ แต่พบว่าช่วงวันประกาศการลดลงของอันดับความน่าเชื่อถือของธนาคารเกิดผลตอบแทนผิดปกติอย่างมีนัยสำคัญ และจากการศึกษาในงานค้นคว้านี้ถ้าหากมีการเปลี่ยนแปลงอันดับความน่าเชื่อถือโดยมีการแบ่งกลุ่มประเทศเป็นกำลังพัฒนา และ ประเทศพัฒนาแล้ว และรวมทั้งหมดทุกประเทศโดยรวมทุกเหตุการณ์ทั้งการลดและการเพิ่มอันดับความน่าเชื่อถือ จะทำให้เกิดผลตอบแทนผิดปกติสะสมเกิดขึ้นอย่างมีนัยสำคัญในช่วงก่อนประกาศอันดับความน่าเชื่อถือในว่าที่ -60 ถึงวันที่ -1 แสดงให้เห็นว่านักลงทุนจะมีการคาดการณ์ล่วงหน้าอยู่ก่อนแล้ว เนื่องจากมีข้อมูลที่ออกก่อน เช่น ข้อมูลงบการเงินของธนาคาร ซึ่งโดยส่วนใหญ่บริษัทมักจะใช้ข้อมูลเหล่านี้มาประกอบการจัดอันดับความน่าเชื่อถือของธนาคารen_US
Appears in Collections:BA: Independent Study (IS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
601532266 ศดานันท์ ลิมปานุวัฒน์.pdf1.26 MBAdobe PDFView/Open    Request a copy


Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.