Please use this identifier to cite or link to this item: http://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78472
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอิสระ บุญญะฤทธิ์-
dc.contributor.authorกิ่งกาญจน์ เหล่ารัตนกุลen_US
dc.date.accessioned2023-07-12T00:48:05Z-
dc.date.available2023-07-12T00:48:05Z-
dc.date.issued2023-06-
dc.identifier.urihttp://cmuir.cmu.ac.th/jspui/handle/6653943832/78472-
dc.description.abstractThis study investigated the mediating role of psychological ownership in the relationship between perceived organizational support and job performance among employees in private organizations. Data were collected from 274 employees who were working at least 1 year in private organizations in Bangkok, Thailand. By using a questionnaire consisting of the Perceived Organizational Support Scale, the Job-Based Psychological Ownership Scale, the Organization-Based Psychological Ownership Scale, the In-Role Performance Scale and the Extra-Role Performance Scale. All scale reliabilities were between .93 to .95. The data were analyzed using the Partial Least Squared Structural Equation Modeling (PLS-SEM). The results showed that job-based psychological ownership acted significantly as the mediating role in the relationship between perceived organizational support and in-role and extra-role performance. Moreover, organization-based psychological ownership also mediated the relationship between perceived organizational support and extra-role performance but not in the relationship between perceived organizational support and in-role performance. The finding can be applied in human resource management.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherเชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่en_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การกับการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัทเอกชน: บทบาทการเป็นตัวแปรสื่อความเป็นเจ้าของทางจิตใจen_US
dc.title.alternativeRelationship between perceived organizational support and job performance of employees in private organizations: The Mediating role of psychological ownershipen_US
dc.typeIndependent Study (IS)
thailis.controlvocab.thashพนักงานบริษัท-
thailis.controlvocab.thashพนักงานบริษัท -- ความพอใจในการทำงาน-
thailis.controlvocab.thashพนักงานบริษัท -- ความผูกพันต่อองค์การ-
thailis.controlvocab.thashบริษัท -- การบริหาร-
thesis.degreemasteren_US
thesis.description.thaiAbstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทการเป็นตัวแปรสื่อของความเป็นเจ้าของทางจิตใจของความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การกับการปฏิบัติงานของพนักงานบริษัทเอกชน กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเป็นพนักงานที่มีการปฏิบัติงานมาไม่น้อยกว่า 1 ปีในองค์การเอกชนในกรุงเทพมหานครจำนวน 274 คน โดยใช้แบบสอบถามที่ประกอบด้วย แบบวัดการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การ แบบวัดความเป็นเจ้าของทางจิตใจต่องาน แบบวัดความเป็นเจ้าของทางจิตใจต่อองค์การ แบบวัดการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ และแบบวัดการปฏิบัติงานนอกบทบาทหน้าที่ มีความเที่ยงของแบบวัดระหว่าง .93 ถึง .95 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์แบบจำลองสมการโครงสร้างแบบกำลังสองน้อยที่สุดบางส่วน (PLS-SEM) ผลการศึกษาพบว่า ความเป็นเจ้าของทางจิตใจต่องานมีบทบาทเป็นตัวแปรสื่อในความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การกับการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่และนอกบทบาทหน้าที่อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ นอกจากนี้ยังพบว่า ความเป็นเจ้าของทางจิตใจต่อองค์การมีบทบาทเป็นตัวแปรสื่อระหว่างการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การกับการปฏิบัติงานนอกบทบาทหน้าที่ แต่ไม่พบว่าเป็นตัวแปรสื่อระหว่างการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การกับการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลงานวิจัยนี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการบริหารด้านทรัพยากรบุคคลen_US
Appears in Collections:HUMAN: Independent Study (IS)



Items in CMUIR are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.